skip to main
|
skip to sidebar
หน้าแรก
USBER
Home
About
Uncategorized
Category B
Category C
Category D
วันพฤหัสบดีที่ 23 มิถุนายน พ.ศ. 2554
Home
»
เครื่องเสียง
» การตีตู้แบบต่างๆ สำหรับลำโพงซับวูฟเฟอร์ของท่าน
การตีตู้แบบต่างๆ สำหรับลำโพงซับวูฟเฟอร์ของท่าน
เขียนโดย
usber
ที่
06:27
การตีตู้แบบต่างๆ สำหรับลำโพงซับวูฟเฟอร์ของท่าน
<>
ตู้
ลำโพง
ที่ใช้กับลำโพง
ซับ
วูฟเฟอร์นั้นมี 3 แบบ คือ 1.แบบตู้ปิด (SEALED) 2.แบบมีท่อ (VENTED) 3.แบบแบนพาส (BANDPASS) แต่ละแบบนั้นมีข้อดีข้อเสียอย่างไร เป็นอย่างไร? วันนี้เลยเอารายละเอียดมาให้ดูกันครับ
1. ลำโพงแบบตู้ปิดหรือ SEALED ENCLOSURES
เป็นลำโพงที่นิยมที่สุด โดยสามารถควบคุมการขับกำลังวัตต์ของลำโพงได้สูงกว่าตู้ลำโพงแบบอื่น หรือเรียกได้ว่าสามารถให้เสียงที่มีความดังระดับ SPL ได้ โดยต้องเลือกขนาดของตู้ ลำโพงให้เหมาะสมกับการใช้
งาน
อย่างไรก็ตาม เรื่องของกำลังวัตต์ ก็เป็นเรื่องที่สำคัญทื่จะทำให้ลำโพงมีสมรรถนะได้ ดังนั้นจากมุมมองทางวิศวกรรม ลำโพงแบบตู้ปิด จึงได้ชื่อว่าเป็นการออกแบบที่ " SIMPLE IS BETTER" (ยิ่งเรียบง่ายยิ่งดี)
แบบ SEALED ENCLOSURES (ตู้ปิด) เสียงเบส น้อยแต่ให้รายละเอียดสูง ตู้ลำโพงแบบแพงๆจะใช้สูตรนี้
2. ตู้ลำโพงแบบมีท่อ (VENTED ENCLOSURE)
คือตู้ลำโพงที่ให้ความสมดุลที่ดีระหว่าพารามิเตอร์ต่าง ๆ โดยท่อของตู้ลำโพงเป็นตัวกรอง (FILTER) ทางเสียงให้กับลำโพง อย่างไรก็ตามตู้ลำโพงแบบท่อนี้ จะใช้พื้นที่ในการติดตั้งที่มากกว่าแบบตู้ปิด เนื่องจากส่วนของท่อนั้นถือได้ว่าเป็นทางให้สัญญาณเส ียงออกอีกทางหนึ่ง ข้อดีของตู้ลำโพงแบบนี้ คือสามารถให้ความถี่เสียงเบสที่ต่ำกว่าตู้ลำโพงแบบอื ่น พร้อมทั้งมีประสิทธิภาพในการตอบสนองความถี่ที่ดี แต่ก็ต้องอาศัยการออกแบบที่ดี เพื่อให้ตัวแปรที่มีผลต่อเสียง เช่น ตัวตู้ลำโพง ลำโพง และท่อสอดผสานกันอย่างลงตัว ถึงแม้การออกแบบจะมีความซับซ้อน แต่ตู้ลำโพงแบบนี้ก็เป็นที่นิยมมาก โดยเฉพาะการนำ ไปใช้ออกแบบลำโพงอย่างเสียงต่ำในรถยนต์
แบบ VENTED ENCLOSURES (ตู้แบบมีท่อเบส) ตู้แบบนี้ นิยมมากที่เห็นกันบ่อยๆ คือตู้แบบนี้ มากถึง 80%
3. ตู้ลำโพงแบบ 4 TH-ORDER BAND PASS
คือตู้ลำโพงปิดที่มีการเพิ่มท่อด้านหน้าลำโพง ซึ่งทำหน้าที่เป็นตัวกรองเสียง(ACOUSTICAL FILTER) กับตู้ลำโพงแบบปิดธรรมดา แต่อย่างไรก็ตาม ข้อเสียก็คือจะต้องใช้พื้นที่มาก ดังนั้น จึงมีการประยุกต์ระบบ 4TH- ORDER BAND PASS ซึ่งมีความยืดหยุ่นในการออกแบบมากกว่าตู้ลำโพงแบบปิด หรือแบบเบสรีเฟล็กซ์ เนื่องจากสามารถวางปริมาตรของตู้เทางด้านหน้า หรือด้านหลัง หรือเพิ่มลดขนาดของท่อได้ ทำให้สามารถระบุการตอบสนองความถี่รวมทั้งความไว (SENSITIVITY) ของระบบได้อย่างอิสระกว่า ตู้ลำโพงแบบปิด หรือแบบ เบสรีเฟล็กซ์ แต่อย่างไรก็ตามก็ยังต้องอาศัยการปรับแต่งเสียงที่ดี เพื่อช่วยให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น
แบบ BAND PASS ENCLOSURES (ตู้สูตร) ตู้แบบนี้ ออกแบบยากสุด (หาซื้อยากด้วย) แต่ให้เสียงเบสแบบ สุดใจจริงๆ
Related Posts
Surround Sound System กับความสับสนเข้าใจผิด
Surround Sound System กับความสับสนเข้าใจผิด Edit TitleEdit Detail ปัจจุบัน ดูเหมือนว่าระบบเสียงที่สร้างบรรยากาศรายรอบให้เหมือนกับการจำลองโรงภาพยนตร์เข้ามาไว้ในบ้านที่เรียกๆ กันว่าระบบ Home Theater ...
readmore
เทคนิคการปรับซาวด์กีตาร์
เทคนิคการปรับซาวด์กีตาร์ เราจะมาพูดถึงเรื่องการตั้งsound แบบที่ศิลปินเขาทํากัน จริงๆบนเวทีพี่เองก็ไม่ใช่นักกีต้าร์ นิ้วพายุอะไรอย่างนั้นหรอกครับ ทุกวันนี้ก็ยังไม่เร็วอีกแหละ( พูดจากใจจริง ) แต่พี่ให้ ...
readmore
ปัญหาสเตอริโอ
ปัญหาสเตอริโอ Edit TitleEdit Detail ...
readmore
10 ยอดคำถามเกี่ยวกับ HD DVD & Blu-ray
10 ยอดคำถามเกี่ยวกับ HD DVD & Blu-ray Edit TitleEdit Detail10 ยอดคำถามเกี่ยวกับ HD DVD & Blu-ray ข้อมูลการแนะนำที่ครบถ้วนสมบูรณ์ ถึงรูปแบบใหม่ของแผ่นสัญญาณภาพ high-def ...
readmore
แอมป์ใหญ่ ความจำเป็นของกำลัง
แอมป์ใหญ่ ความจำเป็นของกำลัง Edit TitleEdit Detail ในเรื่องของเครื่องเสียงเราต้องการ "Linearity" ในทุกๆเรื่อง ลิเนียริตี้หมายถึงความเป็นเส้นตรง การเปลี่ยนแปลงในลักษณะเพิ่มขึ้น-ลดลงแบบคงที่สม่ำเสมอ ...
readmore
0 ความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น
บทความใหม่กว่า
บทความที่เก่ากว่า
หน้าแรก
สมัครสมาชิก:
ส่งความคิดเห็น (Atom)
จำนวนการดูหน้าเว็บรวม
125,842
Popular Posts
ส่วนประกอบของไฟฉาย
ส่วนประกอบของไฟฉาย ไฟฉายประกอบด้วยส่วนต่าง ๆ หลายส่วน เช่น หลอดไฟ กระบอกไฟ ฯลฯ ซึ่งเราจะมารู้จักกับส่วนประกอบต่าง ๆ ของไฟฉายกันว่ามีอะไรบ้...
การสลับยาง
การสลับยาง ควรมี การสลับยาง กับรถที่เราใช้อย่างน้อย ทุกๆ10,000 กิโลเมตร สำหรับ รถขับเคลื่อน 2 ล้อทั่วไป และ ทุกๆ 4,000 กิโลเมตร สำหรั...
แรงดันลมยาง
แรงดันลมยาง แรงดันลมมาตรฐานของยางรถยนต์ทุกรุ่น มีระบุไว้บนสติกเกอร์ที่ตัวรถยนต์หรือคู่มือประจำรถยนต์ ส่วนใหญ่อยู่ในระดับ 28-32 ปอน...
การปรับเอฟเฟ็คกีตาร์
การปรับเอฟเฟ็คกีตาร์ ก่อนอื่นขอบอกว่ากระทู้นี้เกิดมาจากการที่ผมเข้าไปตอบ ปัญหาเกี่ยวกับการตั้งเอฟเฟค Korg 1500G แล้วมีน้องๆแอดเมล์ผมเข้ามาถา...
ไข่วันละฟองกินได้หรือไม่?
ไข่วันละฟองกินได้หรือไม่? ไข่เป็นอาหารที่หาทานได้ง่าย ราคาถูก สามารถประกอบอาหารได้หลายอย่าง แต่เป็นเวลานานหลายปีแล้วที่ทางการแพทย์พบว่า ไ...
วิธีทดสอบแบตเตอรี่
วิธีทดสอบ <Test 1: Mobile Mark 2007 Setting> Default 1 กู้คืนระบบให้เริ่มต้นจากโรงงาน 2 ถอนการติดตั้งโปรแกรมที่ขัดแย้งกับ Mobile Mark ...
ไข้ไทฟอยด์
ไข้ไทฟอยด์ เป็นโรคที่เกิดจากการติดเชื้อแบคทีเรีย ชื่อ ซาลมอเนลล่า ไทฟี่ (Salmonella typhi) โดยร่างกายจะได้รับเชื้อไทฟอยด์ทางการกิน ซึ่งเ...
ประโยชน์ของมือถือ ที่คุณยังไม่รู้ และคาดไม่ถึง ( จริงๆ)
ประโยชน์ของมือถือ ที่คุณยังไม่รู้ และคาดไม่ถึง ( จริงๆ) 1. หมายเลขสากลฉุกเฉิน 112 ใช้ได้ทั่วโลก ถ้าเกิดเราหลงไปอยู่ในเขตที่ไม่มีสัญญาณเลย ...
โรคตาบอดสี
โรคตาบอดสี ตาบอดสี หรือที่เรียกว่า colour blindness เป็นอาการที่ตาของผู้ป่วยแปรผลแปรภาพสีผิดไป จากผู้อื่นที่เป็นตาปกติ ตาเป็นอวัยวะจำเป็น...
เด็กสมาธิสั้น
นพ.ทวีศักดิ์ สิริรัตน์เรขา จิตแพทย์เด็กและวัยรุ่น ปัญหาการเรียน ถ้าสามารถหาสาเหตุและได้รับการจัดการแก้ไขในแนวทางที่ถูกต้อง ก็จะช่วยให้เด็...
Labels
ก่อสร้าง
(111)
เครื่องกล
(18)
เครื่องยนต์
(9)
เครื่องเสียง
(113)
จิวเวอรี่
(1)
ดนตรี
(1)
ท่องเที่ยว
(1)
นามบัตร
(18)
แบตเตอรี่
(1)
ระบบรักษาความปลอดภัย
(88)
วิทยุสื่อสาร
(77)
สุขภาพ
(586)
หุ้น
(56)
battery
(8)
BB GUN
(17)
camera
(18)
computer
(55)
electronics
(145)
microscope
(9)
mobilephone
(13)
notebook
(7)
printer
(8)
shop
(2)
รายการบล็อกของฉัน
Texts
ขับเคลื่อนโดย
Blogger
.
Blog Archive
►
2013
(1)
►
มิถุนายน
(1)
►
มิ.ย. 11
(1)
►
2012
(1)
►
มีนาคม
(1)
►
มี.ค. 29
(1)
▼
2011
(1296)
►
กรกฎาคม
(111)
►
ก.ค. 12
(6)
►
ก.ค. 11
(7)
►
ก.ค. 10
(20)
►
ก.ค. 09
(8)
►
ก.ค. 06
(31)
►
ก.ค. 05
(5)
►
ก.ค. 04
(5)
►
ก.ค. 03
(26)
►
ก.ค. 02
(1)
►
ก.ค. 01
(2)
▼
มิถุนายน
(923)
►
มิ.ย. 30
(20)
►
มิ.ย. 29
(12)
►
มิ.ย. 28
(37)
►
มิ.ย. 27
(23)
►
มิ.ย. 26
(14)
►
มิ.ย. 25
(11)
▼
มิ.ย. 23
(16)
Fuse แบบต่างๆ ที่ใช้ในระบบเครื่องเสียงรถยนต์
ระบบในเครื่องเสียงรถยนต์แบบต่างๆ
Subwoofer วอยซ์เดี่ยว / วอยซ์คู่ ต่างกันอย่างไร อย...
การตีตู้แบบต่างๆ สำหรับลำโพงซับวูฟเฟอร์ของท่าน
Sub Plans - 184 Sub
Sub Plans - C Sub
Sub Plans - X1
Sub Plans - G Sub
Horn Plans - HD 15 Horn
Horn Plans - 18" Super Scooper
Horn Plans - 21" Super Scooper
การใช้งานโปรแกรมออกแบบตู้ลำโพง BASSBOX PRO
PHOENIX BIOS CODE
AWARD BIOS Code
AMI BIOS Code
BIOS Beep Codes
►
มิ.ย. 22
(45)
►
มิ.ย. 21
(26)
►
มิ.ย. 20
(25)
►
มิ.ย. 16
(31)
►
มิ.ย. 15
(70)
►
มิ.ย. 14
(146)
►
มิ.ย. 13
(129)
►
มิ.ย. 12
(68)
►
มิ.ย. 11
(32)
►
มิ.ย. 10
(8)
►
มิ.ย. 09
(44)
►
มิ.ย. 08
(14)
►
มิ.ย. 03
(42)
►
มิ.ย. 02
(61)
►
มิ.ย. 01
(49)
►
พฤษภาคม
(262)
►
พ.ค. 31
(48)
►
พ.ค. 30
(20)
►
พ.ค. 29
(9)
►
พ.ค. 28
(17)
►
พ.ค. 27
(6)
►
พ.ค. 23
(1)
►
พ.ค. 21
(9)
►
พ.ค. 20
(27)
►
พ.ค. 19
(8)
►
พ.ค. 17
(1)
►
พ.ค. 16
(7)
►
พ.ค. 15
(45)
►
พ.ค. 13
(6)
►
พ.ค. 10
(1)
►
พ.ค. 09
(18)
►
พ.ค. 08
(24)
►
พ.ค. 07
(12)
►
พ.ค. 06
(3)
►
2010
(15)
►
ตุลาคม
(15)
►
ต.ค. 13
(5)
►
ต.ค. 12
(9)
►
ต.ค. 11
(1)
Labels
ก่อสร้าง
(111)
เครื่องกล
(18)
เครื่องยนต์
(9)
เครื่องเสียง
(113)
จิวเวอรี่
(1)
ดนตรี
(1)
ท่องเที่ยว
(1)
นามบัตร
(18)
แบตเตอรี่
(1)
ระบบรักษาความปลอดภัย
(88)
วิทยุสื่อสาร
(77)
สุขภาพ
(586)
หุ้น
(56)
battery
(8)
BB GUN
(17)
camera
(18)
computer
(55)
electronics
(145)
microscope
(9)
mobilephone
(13)
notebook
(7)
printer
(8)
shop
(2)
หน้าแรก
ค้นหาบล็อกนี้
สมัครสมาชิก
บทความ
Atom
บทความ
ความคิดเห็น
Atom
ความคิดเห็น
Blogger news
Blogroll
About
0 ความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น