วันพฤหัสบดีที่ 23 มิถุนายน พ.ศ. 2554

Fuse แบบต่างๆ ที่ใช้ในระบบเครื่องเสียงรถยนต์

|0 ความคิดเห็น
Fuse แบบต่างๆ ที่ใช้ในระบบเครื่องเสียงรถยนต์
เห็นมีกระทู้หลายๆ กระทู้ว่ากันด้วยเรื่องฟิวส์ ซึ่งจะมีการกล่าวถึงฟิวส์ในรูปแบบต่างๆ กัน ซึ่งบางแบบมีรูปร่างหน้าตาคล้ายๆ กัน แต่มีขนาดต่างกัน และใช้แทนกันไม่ได้ กระทู้นี้จะมาบอกว่า ฟิวส์แต่ละแบบมีชื่อเรียกว่าอะไรกันบ้างนะ

แบบแรก
จะเป็นฟิวส์แบบแผ่นยาวๆ มีใบสำหรับยึดในแนวยาว
จะมีใช้กันอยู่ 2 แบบคือ

1. ANL
จะมีขนาดใหญ่ นิยมใช้เป็น main fuse ของระบบ

2. AFS หรือบางที่จะเรียก mini ANL
จะมีรูปร่างเหมือนกับ ANL แต่มีขนาดเล็กกว่า นิยมใช้ใน distribution block เช่น Audison หรือ streetwires

แบบที่สอง
จะเป็น fuse แบบเสียบ จะมีขั้วฟิวส์เป็นแผ่น 2 แผ่นอยู่ด้านล่างของฟิวส์
1. ATC หรือ ATO
มีขนาด กว้างxยาว = 20x20mm. ส่วนมากจะใช้เป็น fuse สำหรับ amp ทั้งหลาย

2. MAXI
รูปร่างเหมือนกับ ATC แต่จะมีขนาดใหญ่กว่า คือ กว้างxยาว = 29x35mm จะใช้เป็น fuse สำหรับ amp บางยี่ห้อ เท่าที่จำได้ก็จะมี soundstream ในบางรุ่น


แบบที่สาม
จะเป็น fuse แบบหลอดแก้ว
1. AGU
จะมีขนาด กว้างxยาว = 9x38mm นิยมใช้เป็น fuse main สำหรับ front หรือ amp ที่ใช้กระแสไม่สูงนัก รวมทั้งใช้ใน distribution block ในบางรุ่น ส่วนมากอุปกรณ์ที่ใช้กับ AGU fuse จะใช้กับสายขนาดเบอร์ 8 - เบอร์ 4 เท่่านั้น

2. AGC
จะเป็น fuse ที่อยู่ท้าย front คือของ standard ติดมากับตัว front มีขนาด 6x32mm อย่าไปใ

3. GMA
อันนี้จะเป็น fuse ที่ใช้กับเครื่องบ้านซะเป็นส่วนใหญ่ มีขนาด 5x20mm

ระบบในเครื่องเสียงรถยนต์แบบต่างๆ

|0 ความคิดเห็น

ระบบในเครื่องเสียงรถยนต์แบบต่างๆ

ระบบในเครื่องเสียงรถยนต์นั้นมีอยู่หลากหลายแบบ ซึ่งแต่ละแบบก็ให้คุณภาพที่แตกต่างกัน และราคาที่สูงต่ำ ตามกันไป ซึ่งต้องเลือกให้เหมาะสมกับความพึงพอใจของเรากับงบที่เรามี ซึ่งมีระบบอะไรบ้างนั้นลองไปดูกันครับ

ระบบ DOLBY SURROUND หรือ ระบบ PRO LOGIC
คือระบบ เสียงที่ประกอบไปด้วย ทิศทางของลำโพงที่อยู่ด้านหน้า คือ Center และคู่หน้า Surround (อยู่ซ้าย และ ขวา) พร้อมลำโพงคู่หลัง คือ Surround หลัง(แต่เป็น Mono) และมีตู้ SUB รวมเป็น 4.1 channe

ระบบ DOLBY DIGITAL หรือ ระบบ AC-3
คือระบบ สียงที่ประกอบไปด้วย ทิศทางของลำโพงที่อยู่ด้านหน้า คือ Center และคู่หน้า Surround (อยู่ซ้าย และ ขวา) พร้อมลำโพงคู่หลัง คือ Surround หลัง(แต่เป็น Stereo) และมีตู้ SUB รวมเป็น 5.1 channe

ระบบ DTS ย่อมาจาก DIGITAL THEATER SYSTEM
คือระบบเสียงที่มีร่องเสียง 6CH (ถ้า AC-3 เรียกว่า 5.1CH) ระบบนี้ลำโพงจัดแบบ AC-3 มี Center, Surround หน้า,
Surround หลัง, และ Subwoofer แต่สัญญาณ DTS จะมีความชัดเจนกว่า ระบบ AC-3 ตรงที่ว่าสัญญาณที่ออกมาจากเครื่อง
เล่น CD หรือ DVD ไปที่เครื่องถอดรหัสเป็นสัญญาณดิจิตอล ซึ่ง AC-3 เป็นสัญญาณอนาล็อก เสียงของ DTS จึงมีความชัดเจน และให้ความสมจริงเหนือกว่า

ระบบ SDDS ย่อมาจาก SONY DINAMIC DIGITAL SOUND
คือระบบเสียงที่มี 7.1CH ส่วนใหญ่จะใช้ในโรงภาพยนต์ มีลำโพง Center, Surround หน้า, Surround หลัง, Subwoofer
และมีเพิ่มจากระบบ DTS ตรงที่มี Surround กลาง อีก 2CH เสียงให้ความชัดเจนขึ้น แต่เสียงในระบบ DTS จะเคลียร์
และฟังดีกว่า เนื่องจากเป็นระบบ DIGITAL ซึ่งเปิดจาก CD ROM LINK กับแผ่นฟิลม์หนัง แต่เสียงในระบบ SDDS
ใช้เสียง DIGITAL ในร่องหนามเตย จึงมีความคมชัดสู้ระบบ DTS ไม่ได้

ระบบ HI-POWER
คือระบบที่ใช้กำลังในตัวเอง เช่น วิทยุ-เทป ติดรถยนต์โดยทั่วไป ซึ่งปัจจุบันมีกำลังวัตต์ถึง (60W x 4CH) แล้วขับกำลังในตัวเองออกสู่ลำโพง

ระบบ SINGLE-AMP
คือระบบ วิทยุ-เทป หรือ ซีดี ถ่ายทอดสัญญาณสู่ AMP 1 ตัว (2 CH) โดยใช้กำลังวัตต์จาก AMP ขับกำลังออกสู่ลำโพง

ระบบ BI-AMP
คือระบบ เสียงที่ใช้ AMP 2 ตัว (ตัวละ 2CH) ตัวแรก ขับลำโพงซับวูฟเฟอร์ ตัวที่ 2 ขับลำโพงกลางแหลม โดยอาศัย อิเลคทรอนิคครอสส์ 2ทาง จ่ายความถี่ต่ำ และความถี่กลางแหลมให้

ระบบ TRI-AMP
คือระบบ เสียงที่ใช้ AMP 3 ตัว (ตัวละ 2CH) AMP ตัวแรกขับลำโพง ซับวูฟเฟอร์ AMP ตัวที่ 2 ขับลำโพงเสียงกลาง AMP ตัวที่ 3 ขับลำโพงเสียงแหลม เสียงย่าน ต่ำ, กลาง, และสูง อิสระโดยมี อิเลคทรอนิคคอรสส์ แบบ 3 ทาง เป็นตัวจ่ายสัญญาณให้

ระบบ CROSS-AMP
คือระบบเสียงที่ใช้ AMP 4 ตัว (ตัวละ 2CH) AMP ตัวแรก ขับลำโพงซับวูฟเฟอร์(ทุ้ม) AMP ตัวที่ 2 ขับลำโพงเสียงต่ำ AMP ตัวที่ 3 ขับลำโพงย่านกลาง AMP ตัวที่ 4 ขับลำโพงย่านสูง โดยมี อิเลคทรอนิคคอรสส์ แบบ 4 ทาง เป็นตัวจ่ายสัญญาณเหล่านี้ให้

Subwoofer วอยซ์เดี่ยว / วอยซ์คู่ ต่างกันอย่างไร อย่างไหนเสียงดีกว่ากัน

|0 ความคิดเห็น

Subwoofer วอยซ์เดี่ยว / วอยซ์คู่ ต่างกันอย่างไร อย่างไหนเสียงดีกว่ากัน

จริงๆแล้ววอยซ์เดี่ยว/วอยซ์คู่ แตกต่างกันแค่ในเรื่องของจำนวนวอยซ์ นั่นคือมีวอยซ์ชุดเดียวหรือมีสองชุด เหตุผลของการมีหลายวอยซ์ ก็เพื่อให้สามารถจัดระเบียบอิมพีแดนซ์เฉพาะของซับแต่ละดอกได้อิสระ นั่นคือ (กรณีซับฯวอยซ์คู่ วอยซ์ละ 4 โอห์ม)


1.ถ้าต้องการอิมพีแดนซ์ 8 โอห์ม ก็นำวอยซ์คอยล์ทั้งสองมาอนุกรมกัน (4+4=8 โอห์ม)

2.ถ้าต้องการอิมพีแดนซ์ 4 โอห์ม ก็ต่อใช้งานแค่วอยซ์คอยล์เดียว (อีกวอยซ์ปล่อยไว้ไม่ต้องต่อ)

3.ถ้าต้องการอิมพีแดนซ์ 2 โอห์ม ก็นำวอยซ์คอยล์ทั้งสองมาขนานกัน(4/4= 2 โอห์ม) ทั้งนี้ก็เพื่อให้ซับวูฟเฟอร์แต่ละ"ดอก" สามารถใช้งานกับเพาเวอร์แอมป์ที่ระบุอิมพีแดนซ์ต่างๆกันไปได้

ซับวูฟเฟอร์ที่จะให้เสียงดี มีปัจจัยภายนอกสองประการที่ต้องคำนึงถึง คือ

1.สามารถสร้างตู้ซับฯ ที่มีปริมาตรอากาศเหมาะสมกับซับฯตัวนั้นได้หรือไม่

2.สามารถหากำลังวัตต์ที่ซับฯตัวนั้นต้องการได้อย่างเหมาะสมหรือไม่


และปัจจัยภายในสองประการ คือ


1.ค่า T/S Parameter ที่เหมาะสม/ถูกต้อง(วัดจริง ไม่ใช่เคลมสเปค!)

2.ประสิทธิภาพของส่วนประกอบหลักในตัวซับเอง อาทิ สไปเดอร์, กรวย, วอยซ์คอยล์ การใช้งานซับวูฟเฟอร์ให้ทนทาน ต้องคำนึงถึง

1.การใช้กำลังวัตต์ที่เหมาะสมกับซับฯตัวนั้นๆ(ไม่มากไป ไม่น้อยไป) และไม่"บูสความถี่ต่ำๆมาก"(อาทิ ต่ำกว่า 30 Hz) เข้าไปยังตัวซับวูฟเฟอร์มากเกินความจำเป็น

2.ทำตู้(ประเภทของตู้ ปิด/เปิด/แบนพาส) ตามความสามารถของซับฯตัวนั้นอย่างเหมาะสม
ที่มา สาระดีๆ จาก คุณ bestofpower จาก newviosclub.com

การตีตู้แบบต่างๆ สำหรับลำโพงซับวูฟเฟอร์ของท่าน

|0 ความคิดเห็น
การตีตู้แบบต่างๆ สำหรับลำโพงซับวูฟเฟอร์ของท่าน
 
<> 
ตู้ลำโพงที่ใช้กับลำโพงซับวูฟเฟอร์นั้นมี 3 แบบ คือ 1.แบบตู้ปิด (SEALED) 2.แบบมีท่อ (VENTED) 3.แบบแบนพาส (BANDPASS) แต่ละแบบนั้นมีข้อดีข้อเสียอย่างไร เป็นอย่างไร? วันนี้เลยเอารายละเอียดมาให้ดูกันครับ

1. ลำโพงแบบตู้ปิดหรือ SEALED ENCLOSURES
เป็นลำโพงที่นิยมที่สุด โดยสามารถควบคุมการขับกำลังวัตต์ของลำโพงได้สูงกว่าตู้ลำโพงแบบอื่น หรือเรียกได้ว่าสามารถให้เสียงที่มีความดังระดับ SPL ได้ โดยต้องเลือกขนาดของตู้ ลำโพงให้เหมาะสมกับการใช้งาน อย่างไรก็ตาม เรื่องของกำลังวัตต์ ก็เป็นเรื่องที่สำคัญทื่จะทำให้ลำโพงมีสมรรถนะได้ ดังนั้นจากมุมมองทางวิศวกรรม ลำโพงแบบตู้ปิด จึงได้ชื่อว่าเป็นการออกแบบที่ " SIMPLE IS BETTER" (ยิ่งเรียบง่ายยิ่งดี)

แบบ SEALED ENCLOSURES (ตู้ปิด) เสียงเบส น้อยแต่ให้รายละเอียดสูง ตู้ลำโพงแบบแพงๆจะใช้สูตรนี้


2. ตู้ลำโพงแบบมีท่อ (VENTED ENCLOSURE)
คือตู้ลำโพงที่ให้ความสมดุลที่ดีระหว่าพารามิเตอร์ต่าง ๆ โดยท่อของตู้ลำโพงเป็นตัวกรอง (FILTER) ทางเสียงให้กับลำโพง อย่างไรก็ตามตู้ลำโพงแบบท่อนี้ จะใช้พื้นที่ในการติดตั้งที่มากกว่าแบบตู้ปิด เนื่องจากส่วนของท่อนั้นถือได้ว่าเป็นทางให้สัญญาณเส ียงออกอีกทางหนึ่ง ข้อดีของตู้ลำโพงแบบนี้ คือสามารถให้ความถี่เสียงเบสที่ต่ำกว่าตู้ลำโพงแบบอื ่น พร้อมทั้งมีประสิทธิภาพในการตอบสนองความถี่ที่ดี แต่ก็ต้องอาศัยการออกแบบที่ดี เพื่อให้ตัวแปรที่มีผลต่อเสียง เช่น ตัวตู้ลำโพง ลำโพง และท่อสอดผสานกันอย่างลงตัว ถึงแม้การออกแบบจะมีความซับซ้อน แต่ตู้ลำโพงแบบนี้ก็เป็นที่นิยมมาก โดยเฉพาะการนำ ไปใช้ออกแบบลำโพงอย่างเสียงต่ำในรถยนต์

แบบ VENTED ENCLOSURES (ตู้แบบมีท่อเบส) ตู้แบบนี้ นิยมมากที่เห็นกันบ่อยๆ คือตู้แบบนี้ มากถึง 80%


3. ตู้ลำโพงแบบ 4 TH-ORDER BAND PASS
คือตู้ลำโพงปิดที่มีการเพิ่มท่อด้านหน้าลำโพง ซึ่งทำหน้าที่เป็นตัวกรองเสียง(ACOUSTICAL FILTER) กับตู้ลำโพงแบบปิดธรรมดา แต่อย่างไรก็ตาม ข้อเสียก็คือจะต้องใช้พื้นที่มาก ดังนั้น จึงมีการประยุกต์ระบบ 4TH- ORDER BAND PASS ซึ่งมีความยืดหยุ่นในการออกแบบมากกว่าตู้ลำโพงแบบปิด หรือแบบเบสรีเฟล็กซ์ เนื่องจากสามารถวางปริมาตรของตู้เทางด้านหน้า หรือด้านหลัง หรือเพิ่มลดขนาดของท่อได้ ทำให้สามารถระบุการตอบสนองความถี่รวมทั้งความไว (SENSITIVITY) ของระบบได้อย่างอิสระกว่า ตู้ลำโพงแบบปิด หรือแบบ เบสรีเฟล็กซ์ แต่อย่างไรก็ตามก็ยังต้องอาศัยการปรับแต่งเสียงที่ดี เพื่อช่วยให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น

แบบ BAND PASS ENCLOSURES (ตู้สูตร) ตู้แบบนี้ ออกแบบยากสุด (หาซื้อยากด้วย) แต่ให้เสียงเบสแบบ สุดใจจริงๆ

Sub Plans - 184 Sub

|0 ความคิดเห็น
Sub Plans - 184 Sub




Sub Plans - C Sub

|0 ความคิดเห็น
Sub Plans - C Sub




Sub Plans - X1

|0 ความคิดเห็น
Sub Plans - X1











Sub Plans - G Sub

|0 ความคิดเห็น
Sub Plans - G Sub




Horn Plans - HD 15 Horn

|0 ความคิดเห็น
Horn Plans - HD 15 Horn





Horn Plans - 18" Super Scooper

|0 ความคิดเห็น
Horn Plans - 18" Super Scooper



To make the curved part of the horn flare bend a piece of 3 mm plywood around some battens that have been glued and screwed to the side walls to form the curve, then glue and nail another piece of 3mm plywood on top of the first piece. Keep doing this with another 4 pieces of 3 mm plywood until you have all 6 pieces glued and nailed together. The finished curve should now be 18 mm thick. For a better job use 4 pieces of 18 mm ply to make the curved former. Use a jigsaw to cutout the curve from the 18 mm ply and glue and screw them in place evenly spaced across the width of the curve. The 2 outer most formers should be positioned right against the cabinet walls.







I don't like scoop bins (for an explanation see the FAQ's page) , but if you must use them then the Super Scooper works better than the rest

You must use a high pass filter set to around 30 Hz with scoop bins as the driver becomes unloaded below this frequency




Horn Plans - 21" Super Scooper

|0 ความคิดเห็น
Horn Plans - 21" Super Scooper





To make the curved part of the horn flare bend a piece of 3 mm plywood around some battens that have been glued and screwed to the side walls to form the curve, then glue and nail another piece of 3mm plywood on top of the first piece. Keep doing this with another 4 pieces of 3 mm plywood until you have all 6 pieces glued and nailed together. The finished curve should now be 18 mm thick. For a better job use 4 pieces of 18 mm ply to make the curved former. Use a jigsaw to cutout the curve from the 18 mm ply and glue and screw them in place evenly spaced across the width of the curve. The 2 outer most formers should be positioned right against the cabinet walls.










Plot made using 4 cabinets with PD2150 in parallel

1w/1m Half Space with 120 Hz lowpass filter. f3 = 27 Hz



I don't like scoop bins (for an explanation see the FAQ's page) , but if you must use them then the Super Scooper works better than the rest

You must use a high pass filter set to around 30 Hz with scoop bins as the driver becomes unloaded below this frequency




การใช้งานโปรแกรมออกแบบตู้ลำโพง BASSBOX PRO

|0 ความคิดเห็น
โปรแกรม BassBox Pro นั้นถือเป็นโปรแกรมสำเร็จรูปที่ได้รับความนิยมอย่างมาก สำหรับมืออาชีพในการออกแบบตู้ลำโพงหรือตู้ซับวูฟเฟอร์ โปรแกรมนี้สามารถช่วยในการออกแบบตู้ซับวูฟเฟอร์ได้หลากหลายรูปแบบ รวมถึงการประยุกต์ใช้งานได้ในกรณีต่างๆ อย่างมากมายอีกด้วย ทั้งระบบเสียงไฮไฟภายในบ้าน, ระบบเสียงเพื่อการชมภาพยนตร์, ระบบเสียงในรถเก๋ง, ระบบเสียงในรถบรรทุก, รถแวน, ระบบเสียงที่เน้นความเป็นมืออาชีพ, ระบบเสียงเพื่อฟังวิเคราะห์ในห้องบันทึกเสียง, ระบบเสียงเพื่อฟังบนเวทีแสดงดนตรี, ระบบเสียงเพื่อสาธารณะ, ระบบเสียงของชิ้นดนตรี และอื่นๆ อีกมากมาย

                โปรแกรม BassBox Pro ช่วยท่านในแนวทางการออกแบบตู้ลำโพงได้ใน 3 กรณีหลักด้วยกัน อันได้แก่

               1) กรณีที่ต้องการทราบว่าลำโพงรุ่นนั้นๆ จะให้เสียงออกมาเป็นเช่นไร เมื่อติดตั้งเข้าไปในตู้บรรจุ

                2) กรณีที่ต้องการทราบว่าลำโพงรุ่นนั้นๆ จะให้เสียงออกมาได้ดังมากเพียงใด และมีขีดจำกัดทางด้านพลังเสียงที่ระดับใด

                3) ช่วยในการออกแบบ/คำนวณขนาดของตู้บรรจุแบบต่างๆ

เราเห็นเสียงของลำโพงได้อย่างไร

                รูปแบบเสียงของลำโพงในส่วนนี้ เราจะเรียกกันว่าการวิเคราะห์สัญญาณขนาดเล็ก “small-signal” เหตุก็เพราะว่ามันเป็นการตรวจสอบลำโพงด้วยกำลังในระดับต่ำ โปรแกรม BassBox Pro จะแสดงในรูปแบบกราฟของเสียงดังต่อไปนี้

                - กราฟการตอบสนองคลื่นปกติ(กราฟการตอบสนองความถี่) [Normalized Amplitude Response]

                - กราฟการตอบสนองทางอิมพีแดนซ์ของระบบ [System Impedance Response]

                - กราฟการตอบสนองทางเฟส [Phase Response]

                - กราฟการตอบสนองของกลุ่มเสียงหน่วง [Group Delay]

ระดับความดังสูงสุดและขีดจำกัดทางกำลังเสียง

                รูปจำลองความดังเสียงของลำโพงนี้ เรามักเรียกกันว่าการวิเคราะห์สัญญาณขนาดใหญ่ “large-signal” เหตุเพราะมันเป็นการตรวจสอบลำโพงด้วยกำลังในระดับสูง โปรแกรม BassBox Pro จะแสดงในรูปแบบกราฟของเสียงดังต่อไปนี้

                - กราฟการตอบสนองของคลื่น ตามกำลังวัตต์หรือแรงดันไฟที่ป้อนเข้าไป [“Custom” Amplitude Response for desired input power or voltage]

                - การขับเคลื่อนและกำลังทางเสียงสูงสุดที่อุณหภูมิจำกัด [displacement and thermal-limited Maximum Acoustic Power]

                - การขับเคลื่อนและกำลังทางไฟฟ้าสูงสุดที่อุณหภูมิจำกัด [displacement and thermal-limited Maximum Electrical Input Power]

                - การขยับกรวยตามกำลังวัตต์หรือแรงดันไฟ [Cone Displacement for a desired input power or voltage]

                - ความเร็วลมที่วิ่งผ่านท่อระบายตามกำลังวัตต์หรือแรงดันไฟ [Vent Air Velocity for a desired input power or voltage]

                โดยที่กราฟต่างๆ ที่ได้จากโปรแกรม BassBox Pro เหล่านี้ ช่วยในการประเมินคุณค่าของงานออกแบบตู้ลำโพง และเติมเต็มเป้าหมายในการออกแบบให้ได้ประสิทธิภาพสูงสุด

สัดส่วนของตู้เบส

                โปรแกรม BassBox Pro ได้จัดเตรียมรูปแบบของตู้เบสเอาไว้มากถึง 18 รูปแบบ สำหรับทั้งตู้ปิด, ตู้เปิด และตู้เบสแบบพาสซีฟ-เรดิเอเตอร์ รวมถึงตู้แบนพาสแบบสองและสามห้อง มุมมองของสัดส่วนตู้เบสนั้นสามารถเลือกได้ทั้งมองที่ภายในและมองที่ภายนอก และเห็นเหลี่ยมมุมครบทั้งสามมิติ โดยแสดงเป็นรูปภาพลายเส้นโปร่ง และสำหรับรูปทรงของตู้นี้ผู้ใช้สามารถกำหนดความหนาของไม้ที่จะใช้ทำตู้ได้อย่างอิสระ และแยกส่วนความหนาของไม้ระหว่างด้านประกอบตู้และแผงด้านหน้าตู้ (ในตำแหน่งที่ใช้ยึดลำโพง)ได้ โปรแกรมสามารถคำนวณหาส่วนต่างๆ ได้เอง เมื่อกำหนดสัดส่วนลงไปในโปรแกรมเพียงสองด้านในแต่ละส่วน รวมถึงการคำนวณมุมองศาให้ได้เองจากโปรแกรม

มุมมองของโปรแกรม

                หัวใจหลักของโปรแกรม BassBox Pro ก็คือส่วนที่เป็นหน้าต่างหลักซึ่งรวมถึงช่องงานออกแบบ ในแต่ละช่องงานออกแบบจะยอมให้ผู้ใช้ทำการออกแบบได้อิสระต่อกัน (แต่สามารถใช้ข้อมูลเดียวกันได้) และสามารถทำการออกแบบได้พร้อมกันสูงสุด 10 ช่องงานออกแบบ ทั้งยังสามารถเปิดใช้งานและดูการแสดงผลได้ในเวลาเดียวกัน

                ในกรณีที่เปิดช่องงานออกแบบจนล้นหน้าต่างหลัก ท่านสามารถใช้แถบเลื่อนทางด้านล่างของหน้าต่างหลักเพื่อเลื่อนซ้าย/ขวาดูช่องงานออกแบบแต่ละช่องทั้ง 10 ช่องได้

                หน้าต่างหลักของโปรแกรมสามารถปรับเปลี่ยนขนาดได้ และความสูงของช่องงานออกแบบ ก็จะปรับเปลี่ยนตามไปให้พอดีโดยอัตโนมัติ ส่วนความกว้างของช่องงานออกแบบจะไม่สามารถปรับเปลี่ยนได้

                องค์ประกอบหลักของส่วนหน้าต่างหลักในโปรแกรม ก็ประกอบด้วย


Title bar
เป็นส่วนแสดงชื่อโปรแกรมรวมถึงปุ่มเพื่อการปรับเปลี่ยนขนาดหน้าต่าง ทั้งย่อเล็กสุด, ขยายใหญ่สุด และปิดโปรแกรม

Minimize button
เป็นปุ่มที่ใช้ย่อโปรแกรม BassBox Pro จากตำแหน่งหน้าจอ ลงไปเก็บไว้ในแถบงานด้านล่างของหน้าจอ โดยยังไม่ปิดใช้งานโปรแกรม และสามารถเรียกคืนกลับมาได้โดยการคลิกที่แถบงานด้านล่าง

Maximize button
เป็นปุ่มที่ใช้ขยายโปรแกรม BassBox Pro ให้มีขนาดเต็มหน้าจอพอดี ซึ่งปุ่มนี้เมื่อคลิกซ้ำอีกครั้งจะเป็นการนำหน้าต่างโปรแกรมหลักกลับไปเป็นขนาดเดิมก่อนหน้านี้

Close button
ปุ่มนี้เมื่อคลิกจะมีลักษณะทำงานเหมือนกับปุ่ม Quit ที่อยู่ในแฟ้มรายการ โดยมันจะทำการปิดโปรแกรม และก่อนที่โปรแกรมจะถูกปิดลงนั้น ท่านอาจจะได้รับข้อความบอกให้ทำการเก็บ/ไม่เก็บข้อมูลในช่องงานออกแบบต่างๆ เสียก่อน

Menu bar
เป็นแถบรายการที่ประกอบด้วยคำสั่งต่างๆ ที่ใช้งานในโปรแกรม โดยคำสั่งต่างๆ เหล่านี้ยังสามารถใช้ปุ่มลัดจากคีย์บอร์ดในการสั่งงานได้เช่นกัน ซึ่งมีปรากฏให้เห็นทางด้านข้างของคำสั่งต่างๆ ในแฟ้มรายการ

Design panel
ช่องงานออกแบบที่แสดงข้อมูลเกี่ยวกับลำโพงที่นำมาใช้ออกแบบ และองค์ประกอบของงานออกแบบ อาทิ รูปแบบตู้ ฯลฯ โดยสามารถเลื่อนดูรายละเอียดได้ทั้งแบบบนลงล่าง และแบบซ้ายไปขวา


Design title bar
แสดงให้ทราบถึงหมายเลขงานออกแบบ และปุ่มเก็บข้อมูล, ปุ่มคัดลอก และปุ่มปิดงานออกแบบ โดยแถบงานนี้จะสว่างขึ้นเมื่อช่องงานออกแบบนี้ถูกเรียกใช้

Save button
ใช้เพื่อจัดเก็บงานออกแบบเข้าไว้ในแฟ้มงานออกแบบของ BassBox ถ้าเป็นงานออกแบบใหม่ ท่านจะได้รับช่องว่างเพื่อตั้งชื่องานออกแบบขึ้นใหม่

Copy button
ใช้เพื่อการคัดลอกช่องงานออกแบบ ซึ่งแนะนำให้ใช้คัดลอกเมื่อต้องการงานออกแบบใหม่ และต้องการนำเอาข้อมูลจากช่องงานออกแบบเดิมไปใช้งานต่อ

Close button
ใช้เพื่อปิดช่องงานออกแบบนั้นๆ โดยต้องตรวจสอบก่อนว่ามีการเปลี่ยนแปลงข้อมูลและจัดเก็บข้อมูลการเปลี่ยนแปลงนั้นเรียบร้อยแล้ว โปรแกรมจะไม่มีการข้ามตัวเลขช่องงานออกแบบ เมื่อปิดช่องงานออกแบบหนึ่งไปแล้ว หมายเลขช่องงานออกแบบจะถูกเรียงลำดับใหม่ทันที

Driver properties button
เป็นปุ่มเพื่อใช้ดึงข้อมูลของตัวขับเสียง(ลำโพง)จากชุดข้อมูลลำโพงที่ต้องการนำมาออกแบบตู้ เพื่อนำเข้ามาเก็บไว้ในหน้าต่างข้อมูลตัวขับเสียง สามารถใช้ปุ่ม Ctrl+D บนคีย์บอร์ดเพื่อสั่งงานนี้ได้

Box properties button
เป็นปุ่มที่ใช้ดีงข้อมูลรูปแบบตู้ จากชุดข้อมูลการออกแบบตู้ เพื่อนำมาเก็บไว้ในหน้าต่างข้อมูลรูปแบบตู้ สามารถใช้ปุ่ม Ctrl+B บนคีย์บอร์ดเพื่อสั่งงานนี้ได้

Room/Car properties button
เป็นปุ่มที่ใช้ดึงข้อมูลสภาพเสียงจากโครงสร้าง/จากรถยนต์ จากงานออกแบบลำโพงที่เลือกไว้เพื่อใช้กับในห้องหรือในรถยนต์ สามารถใช้ปุ่ม Ctrl+A บนคีย์บอร์ดเพื่อสั่งงานนี้ได้

Plot button
ใช้ปุ่มนี้เพื่อสั่งให้แสดงผลกราฟของงานออกแบบเพียงหนึ่งเดียวหรือทั้งหมด และแบบเฉพาะกราฟตอบสนองความถี่อย่าง หรือรวมกราฟที่ต้องแสดงทั้งหมด

Single Window Mode
เป็นการแสดงผลกราฟแต่ละครั้งในหน้าจอเดียว เมื่อคลิกที่ปุ่ม Plot หนึ่งครั้ง จะแสดงกราฟทั้งหมดในหน้าต่างเดียว แต่เมื่อกดปุ่ม Alt ค้างไว้ขณะที่คลิกปุ่ม Plot จะแสดงกราฟเฉพาะที่เลือกเอาไว้อย่างเดียว

Individual Window Mode
เป็นการแสดงผลกราฟแต่ละกราฟแยกหน้าจอกัน และสามารถแสดงผลกราฟในแต่ละหน้าต่างได้มากกว่าหนึ่งหน้าต่าง โดยคลิกที่ปุ่ม Plot เมื่อต้องการแสดงผลกราฟเพียงหน้าต่างเดียว ในโหมดนี้ปุ่ม Alt จะไม่แสดงผลอะไร

Plot color
เป็นการเปลี่ยนสีของเส้นกราฟที่แสดงผล มักใช้เมื่อมีการใช้หน้าต่างกราฟแสดงร่วมกันในช่องงานออกแบบต่างๆ เมื่อคลิกที่ปุ่ม Plot การคลิกเปลี่ยนสีของเส้นกราฟนี้จะมีผลเมื่อมีการสั่ง Plot ครั้งต่อไป แต่จะไม่มีผลเปลี่ยนแปลงเส้นกราฟที่แสดงบนหน้าต่างก่อนหน้านี้

Mini preview graph
เป็นกราฟแสดงผลอัตโนมัติ ที่ปกติแสดงผลในส่วนของการตอบสนองความถี่ของชุดงานออกแบบตู้ลำโพง มีช่วงกราฟ 5 Hz ถึง 2k Hz มีสเกลในแนวตั้ง 9 dB/ช่อง โดยจะทำการแสดงกราฟใหม่อัตโนมัติเมื่อมีการเปลี่ยนแปลงองค์ประกอบของชุดงานออกแบบในลักษณะตามช่วงเวลาจริง สามารถคลิกเมาส์ซ้ายที่บริเวณกราฟเมื่อต้องการปรับปรุง และใช้คลิกเมาส์ขวาเพื่อเลือกคุณสมบัติการแสดงผลได้

Mini box type picture
แสดงภาพจำลองขนาดเล็กของรูปแบบตู้ที่ใช้ในงานออกแบบ ช่วยให้สามารถระบุชนิดของงานออกแบบตู้ได้อย่างรวดเร็ว ภาพจำลองขนาดเล็กนี้ไม่ได้มีขนาดตามมาตราส่วนจริง

Design properties list
เป็นส่วนแสดงข้อมูลของงานออกแบบ ทั้งข้อมูลในส่วนของตัวขับเสียง(ลำโพง)และข้อมูลในส่วนของรูปแบบตู้ ข้อมูลที่แสดงในส่วนนี้ไม่สามารถทำการเปลี่ยนแปลงแก้ไขได้

Status bar
เป็นตำแหน่งล่างสุดของหน้าต่างหลัก แถบแสดงสถานะนี้ใช้บอกถึง กลเม็ดพิเศษ, โครงสร้าง หรือสภานะของคำสั่งงานต่างๆ


การเริ่มต้นงานออกแบบใหม่

การเริ่มต้นงานออกแบบใหม่ในโปรแกรมนี้ มีวิธีการเข้าถึงได้ 2 ทางด้วยกันคือ วิธีแรกเข้าโปรแกรมโดยใช้ตัวช่วยออกแบบ(Design Wizard) ที่มีขั้นตอนแนะนำเป็นลำดับขั้นในการเริ่มต้นงานออกแบบใหม่ การใช้ตัวช่วยออกแบบนี้ สามารถเลือกใช้ได้ในหน้าต่างเริ่มต้นของตัวโปรแกรม BassBox Pro โดยคลิกที่ปุ่ม Run Design Wizard หรือสามารถเรียกใช้ในหน้าต่างหลักของโปรแกรม โดยเลือกที่เมนู Tools

วิธีที่สองเข้าโปรแกรมโดยเริ่มต้นงานออกแบบใหม่ จากการเลือกที่ช่องคำสั่ง New Design ในเมนู File หรือใช้ปุ่ม Ctrl+N ที่คีย์บอร์ด ภาพหน้าต่างของช่องงานออกแบบแสดงให้เห็นดังนี้


จากนั้นให้เข้าไปที่ driver และ box เพื่อจัดองค์ประกอบในการออกแบบตู้ เมื่อคลิกที่ปุ่ม Driver ของช่องงานออกแบบ (หรือใช้ปุ่ม Ctrl+D) ก็จะปรากฏหน้าต่างขององค์ประกอบตัวขับเสียง (ลำโพง) เพื่อให้ท่านกรอกข้อมูลโดยละเอียด หรืออท่านอาจเริ่มโดยการคลิกที่ปุ่ม Box ของช่องงานออกแบบ (หรือใช้ปุ่ม Ctrl+B) เพื่อเปิดหน้าต่างองค์ประกอบของตู้สำหรับการออกแบบ ไม่มีข้อกำหนดในการเริ่มต้นงานออกแบบที่ตายตัว เพียงแต่แนะนำให้ท่านเริ่มต้นที่การป้อนข้อมูลตัวขับเสียงก่อนแล้วจึงทำการออกแบบตู้จะเหมาะสมกว่า

หลังจากป้อนข้อมูลทั้งในส่วนของ driver และ box เรียบร้อยแล้ว เราขอแนะนำให้ท่านทำการกำหนดสภาพเสียงแวดล้อมให้ถูกต้อง โดยถ้าเป็นการออกแบบเพื่อนำไปใช้กับระบบเสียงรถยนต์ มักจะเป็นปุ่มที่ปรากฏเป็น “Car” ซึ่งถ้าหากเป็นการกำหนดโปรแกรมเพื่อนำไปใช้กับงานออกแบบระบบเสียงบ้าน ตัวปุ่มจะปรากฏเป็น ”Room” โดยท่านสามารถเปลี่ยนการกำหนดนี้ได้ใน “General tab” ของหน้าต่าง Preferences

เป็นเพราะความสัมพันธ์ของพื้นที่ห้องขนาดเล็ก และเหตุผลของ “ผลกระทบตามช่อง” (cavity effects) ภายในของยานพาหนะทั่วไปจึงมีการตอบสนองเสียงเบสเสริมเพิ่มขึ้นได้ถึง +12 dB/Oct ในแถบความถี่ราวๆ 50 Hz การเพิ่มขึ้นของการตอบสนองสภาพเสียงที่ +12 dB/Oct ของยานพาหนะนี้สามารถทำให้เกิดผลกระทบอย่างน่าอัศจรรย์กับการตอบสนองความถี่เสียงเบสรวมของงานออกแบบ สามารถคลิกที่ปุ่ม “Car” (หรือ “Room”) เพื่อเปิดเข้าไปยังหน้าต่าง Acoustic Properties ที่ซึ่งท่านสามารถปรับตั้งการควบคุมนี้ได้ทั้งหมด

เมื่อสิ้นสุดงานออกแบบใหม่ ควรสั่งแสดงผลกราฟและประเมินคุณค่าในประสิทธิผล เพื่อให้ทราบว่าระบบของเราได้การตอบสนองความถี่อย่างที่ออกแบบไว้ไหม? มีระดับความดังเสียงที่เพียงพอหรือไม่? ตัวขับเสียงเองมีระยะชักที่พอเพียงกับกำลังวัตต์สูงสุดจากเพาเวอร์แอมป์หรือไม่? ถ้าเป็นงานออกแบบตู้เปิด ขนาดของท่อต้องใหญ่พอกับปริมาณของลมเพื่อหลีกเลี่ยงเสียงลมหวิวที่ปลายท่อ และมีขนาดพอเหมาะกับการติดตั้งเข้าไปในตู้ลำโพงหรือไม่ รวมถึงมีขนาดพอเหมาะที่จะไม่ทำให้เกิดปัญหาการก้องกำทอนพุ่งพรวด(vent resonance peak) การสังเกตที่กราฟแสดงผลนั้นจะเป็นคำตอบต่อสิ่งเหล่านี้ ถ้าหากผลที่ได้ยังไม่สมบูรณ์ ท่านสามารถทำการปรับเปลี่ยนและสั่งแสดงผลกราฟใหม่อีกครั้ง จนกว่าทุกกระบวนการจะเสร็จสมบูรณ์ ท่านสามารถพิมพ์งานออกแบบนี้ออกทางเครื่องพิมพ์ด้วยคำสั่ง “Print Design” ในเมนู File


รายการคำสั่งในโปรแกรม

คำสั่งเกี่ยวกับงานเอกสาร


New Design
เป็นคำสั่งที่ใช้เพื่อเริ่มต้นงานออกแบบใหม่ หลังจากคลิกที่คำสั่งนี้แล้ว โปรแกรมจะเปิดช่องงานออกแบบขึ้นมาบนหน้าต่างหลัก (สามารถใช้แป้น Ctrl+N ที่คีย์บอร์ดได้)

Open Design
เป็นคำสั่งที่ใช้เพื่อเปิดงานออกแบบที่เคยเก็บเป็นแฟ้มไว้แล้วก่อนหน้านี้ในโปรแกรม หรือในมีเดียอื่นๆ(สามารถใช้แป้น Ctrl+O ที่คีย์บอร์ดได้)

Save Design
เป็นคำสั่งที่ใช้เพื่อจัดเก็บงานออกแบบใหม่หรือที่มีการเปลี่ยนแปลงใหม่ โดยมีชื่อแฟ้มและเส้นทางที่จัดเก็บเหมือนเดิม ถ้าเป็นแฟ้มใหม่จะใช้ชื่อมาตรฐานของโปรแกรม (สามารถใช้แป้น Ctrl+S ที่คีย์บอร์ดได้)

Save Design As...
เป็นคำสั่งที่ใช้เพื่อจัดเก็บงานออกแบบใหม่ หรือต้องการคัดลอกงานออกแบบที่ปฏิบัติอยู่ไปยังแฟ้มใหม่และเส้นทางใหม่ โดยชื่อแฟ้มนั้นจะต้องมีนามสกุลเป็น “.bb6” ถ้าไม่กรอกนามสกุลลงไป โปรแกรมจะเติมนามสกุลให้เองอัตโนมัติ

Print Design...
เป็นคำสั่งที่ใช้เพื่อพิมพ์งานออกแบบทางเครื่องพิมพ์ เมื่อคลิกที่คำสั่งนี้โปรแกรมจะเปิดหน้าต่าง “Print a BassBox Design” ขึ้นมา เพื่อให้ท่านกำหนดโครงร่างของการพิมพ์ (สามารถใช้แป้น Ctrl+P ที่คีย์บอร์ดได้)

Print Setup
เป็นคำสั่งที่ใช้เพื่อเลือกกำหนดเครื่องพิมพ์(กรณีต่อเครื่องพิมพ์หลายเครื่อง) และ/หรือเปลี่ยนแปลงข้อกำหนดของเครื่องพิมพ์ ที่สำคัญก่อนเลือกใช้คำสั่งนี้ต้องมั่นใจว่าท่านได้ต่อเครื่องพิมพ์เอาไว้เรียบร้อยแล้ว การกำหนดเครื่องพิมพ์นี้ยังสามารถใช้งานผ่านส่วนของหน้าต่าง “Print a BassBox Design” ได้

Quit
เป็นคำสั่งที่ใช้เพื่อการปิดโปรแกรม โดยท่านจะต้องทำการจัดเก็บ/หรือยกเลิกการจัดเก็บก่อนที่จะปิดโปรแกรม (สามารถใช้แป้น Ctrl+Q ที่คีย์บอร์ดได้)



คำสั่งเกี่ยวกับการแก้ไข


Clear Selected Design
เป็นคำสั่งเพื่อล้างข้อมูลเฉพาะงานออกแบบที่กระทำอยู่ ณ ขณะนั้น เมื่อคลิกเลือกคำสั่งนี้ช่องงานออกแบบก็จะว่างเปล่าไม่มีข้อมูลใดๆ เสมือนเริ่มงานออกแบบใหม่ โปรแกรมจะมีคำถามซ้ำให้แน่ใจว่าท่านต้องการล้างข้อมูลจริง เพื่อป้องกันการสูญหายของข้อมูล

Clear All Designs
เป็นคำสั่งเพื่อล้างข้อมูลในงานออกแบบทั้งหมดที่เปิดใช้งานอยู่ เมื่อคลิกเลือกคำสั่งนี้ช่องงานออกแบบทั้งหมดจะว่างเหล่าเสมือนเริ่มงานออกแบบใหม่ โปรแกรมจะมีคำถามซ้ำให้แน่ใจว่าท่านต้องการล้างข้อมูลเหล่านี้จริงๆ เพื่อป้องกันการสูญหายของข้อมูล

Close All Designs
เป็นคำสั่งเพื่อปิดช่องงานออกแบบทั้งหมด โปรแกรมจะมีคำถามซ้ำให้แน่ใจว่าท่านต้องการปิดช่องงานออกแบบทั้งหมดนี้จริง เพื่อป้องกันการสูญหายของข้อมูล

Database > Edit Driver Data
เป็นคำสั่งที่ใช้เพื่อเข้าไปแก้ไขข้อมูลของตัวขับเสียง(ลำโพง)ในฐานข้อมูลตัวขับเสียง สามารถที่จะทำการแก้ไข, เพิ่มเติม และลบล้างข้อมูล

ข้อควรระวัง: เพื่อป้องกันการสูญหายของข้อมูลโดยไม่ได้ตั้งใจ ทางที่ดีควรทำการสำรองข้อมูลนี้ไว้ก่อนการแก้ไขใดๆ โดยทำการสำรองข้อมูล (copy) แฟ้ม “htaudio.mdb” ในแฟ้มหลัก BassBox Pro เอาไว้ในเส้นทางอื่นก่อน

Database > Edit Company Data
เป็นคำสั่งที่ใช้เพื่อเข้าไปแก้ไขข้อมูลของชื่อบริษัท/ผู้ผลิตลำโพงในฐานข้อมูลชื่อบริษัทลำโพง สามารถที่จะทำการแก้ไข, เพิ่มเติม และลบล้างข้อมูล

ข้อควรระวัง: เพื่อป้องกันการสูญหายของข้อมูลโดยไม่ได้ตั้งใจ ทางที่ดีควรทำการสำรองข้อมูลนี้ไว้ก่อนการแก้ไขใดๆ โดยทำการสำรองข้อมูล (copy) แฟ้ม “htaudio.mdb” ในแฟ้มหลัก BassBox Pro เอาไว้ในเส้นทางอื่นก่อน

Database > Compact Database
เป็นคำสั่งลบข้อมูลในฐานข้อมูลลำโพงแบบชั่วคราว เพื่อให้สามารถนำกลับมาใช้ได้ใหม่ในภายหลัง โดยโปรแกรมจะบีบอัดข้อมูลให้กลายเป็นแฟ้มชื่อ “htaudio.bak” ซึ่งการนำข้อมูลนี้กลับมาใช้ใหม่ก็เปลี่ยนชื่อของแฟ้มแบ็คอัพ จากนามสกุล bak ให้กลับมาเป็น mdb อีกครั้ง

Database > Repair Database
เป็นคำสั่งที่ใช้ควบคู่กับ Database>Compact Database เพื่อให้สามารถทำการซ่อมแซมความเสียหายที่อาจเกิดขึ้นกับฐานข้อมูล อาทิ การไม่สามารถเข้าถึงฐานข้อมูลได้ หรือมีข้อความแจ้งเตือนว่าไม่ใช่ฐานข้อมูลแบบ Microsoft Access database ให้คลิกเลือกคำสั่งนี้เพื่อนำเอาแฟ้มแบ็คอัพที่เคยทำไว้กลับมาใช้งาน โดยโปรแกรมจะเปลี่ยนนามสกุล bak ให้กลับมาเป็น mdb อีกครั้ง โดยข้อมูลที่ทำการซ่อมแซมนี้อาจไม่อัพเดท หรือมีการตกหล่นของข้อมูลไปบ้าง

Preferences
เป็นคำสั่งเพื่อเข้าไปเปลี่ยนแปลงการจัดโครงร่างของหน้าต่าง และแก้ไของค์ประกอบจัดตั้งในโปรแกรม BassBox Pro โดยโครงร่างและองค์ประกอบเหล่านี้ถูกจัดเก็บเอาไว้ในแฟ้มชื่อ “bbxpref.ini”


คำสั่งเกี่ยวกับกราฟแสดงผล


Display Mode
เป็นคำสั่งเพื่อเลือกการแสดงผลในแบบ “Single Window” และ “Individual Windows” โดยการแสดงผลแบบ “Single Window” นั้นจะรวมเอากราฟแสดงผลทุกหมวดไว้ในหน้าต่างเดียวกัน เพื่อให้ผู้ใช้คลิกเลือกดูได้ทีละกราฟแสดงผลที่แท็ดด้านข้าง เป็นโหมดที่ใช้ได้ดีกับจอแสดงผลที่มีความละเอียดในระดับ VGA และ SVGA เพราะสามารถจำกัดพื้นที่การแสดงผลได้ นอกจากนั้นยังใช้พื้นที่หน่วยความจำและทรัพยากรของระบบน้อยกว่า

การแสดงผลแบบ “individual windows” จะแยกกราฟแสดงผลแต่ละหมวดเพื่อแสดงออกมาในหน้าจอแต่ละหมวดเป็นอิสระ เพื่อให้สามารถดูกราฟแสดงผลแต่ละหมวดได้ในเวลาเดียวกัน

Show Graph > Amplitude--Normalized
เป็นคำสั่งเพื่อแสดงผลกราฟการตอบสนองของคลื่นปกติ ซึ่งมักอ้างอิงถึงการตอบสนองความถี่เสียง มีเส้นมูลฐานปกติที่ 0 dB (สามารถใช้แป้น Ctrl+F1 เพื่อสั่งงานได้)

Show Graph > Amplitude--Custom
เป็นคำสั่งเพื่อแสดงผลกราฟการตอบสนองของคลื่นตามปัจจัยของผู้ใช้ โดยอ้างอิงกับกำลังวัตต์หรือแรงดันไฟที่ป้อนเข้าไปในค่าปัจจัย กราฟหมวดนี้จะแสดงผลในลักษณะของระดับความดังเสียง(SPL) ที่มาตรฐาน 1 เมตร (3.28 ฟุต) ที่ระบุไว้กับค่ากำลังวัตต์หรือแรงดันไฟ ซึ่งโดยปกติกราฟแสดงผลหมวดนี้จะมีระดับความไวที่แตกต่างไปบ้างจากงานออกแบบพื้นฐาน (สามารถใช้แป้น Ctrl+F2 เพื่อสั่งงานได้)

Show Graph > Max Acoustic Power
เป็นคำสั่งเพื่อแสดงผลกราฟของกำลังทางสภาพเสียงสูงสุด เมื่อเทียบวัดที่ระดับความดังเสียง 1 เมตร (3.28 ฟุต) กราฟนี้เป็นการกระจายกำลังทางสภาพเสียงรวมของลำโพงในทุกๆทิศทาง ก่อนการเบี่ยงเบนทางเชิงเส้นและอุณหภูมิสูงเกินกำหนด (สามารถใช้แป้น Ctrl+F3 เพื่อสั่งงานได้)

Show Graph > Max Electric Power
เป็นคำสั่งเพื่อแสดงผลกราฟของกำลังทางไฟฟ้าขาเข้าสูงสุด เป็นกำลังวัตต์สูงสุดจากเพาเวอร์แอมป์ที่ตัวลำโพงสามารถรองรับได้ ก่อนการเบี่ยงเบนทางเชิงเส้นและอุณหภูมิสูงเกินกำหนด (สามารถใช้แป้น Ctrl+F4 เพื่อสั่งงานได้)

Show Graph > Cone Displacement
เป็นคำสั่งเพื่อแสดงผลกราฟการขับเคลื่อนของกรวยลำโพง ตามปัจจัยของกำลังวัตต์หรือแรงดันไฟ โดยแสดงผลเป็นการเบี่ยงเบนของกรวยทั้งที่ตัวขับเสียงและแผ่นช่วยกระจายเสียง ตามปัจจัยของกำลังวัตต์หรือแรงดันไฟที่ป้อนเป็นข้อมูล เส้นกราฟที่มีความเข้มจางลงแสดงว่าอยู่เกินขีดจำกัดของการเบี่ยงเบนเชิงเส้นที่ตัวลำโพง(Xmax) (สามารถใช้แป้น Ctrl+F5 เพื่อสั่งงานได้)

Show Graph > Vent Air Velocity
เป็นคำสั่งเพื่อแสดงผลกราฟการเคลื่อนตัวของลมในท่อระบายเบส ตามปัจจัยของกำลังวัตต์หรือแรงดันไฟ มันจะแสดงให้เห็นถึงความเร็วลมภายในท่อระบายเบส ตามปัจจัยของกำลังวัตต์หรือแรงดันไฟที่ป้อนเป็นข้อมูล เส้นกราฟที่มีความเข้มจางลงแสดงว่ามีความเร็วลมมากกว่า 10% ของความเร็วลมของเสียงในอากาศ อันอาจทำให้เกิดเสียงหอนและเสียงลมหวิวที่ปากท่อได้ (สามารถใช้แป้น Ctrl+F6 เพื่อสั่งงานได้)

Show Graph > System Impedance
เป็นคำสั่งเพื่อแสดงผลกราฟอิมพีแดนซ์ของระบบ โดยแสดงเป็นอิมพีแดนซ์สุทธิของลำโพง ที่รวมถึงผลของเครือข่ายพาสซีฟภายนอก(crossover network) ถ้ามีต่ออยู่, อิมพีแดนซ์ของเครือข่ายการชดเชยเสียง และชุดอุปกรณ์ L-pad ต่างๆ (สามารถใช้แป้น Ctrl+F7 เพื่อสั่งงานได้)

Show Graph > Phase
เป็นคำสั่งเพื่อแสดงผลกราฟการตอบสนองทางเฟส ที่แสดงให้เห็นว่ามีความต่างกันระหว่างสัญญาณขาออกของลำโพงกับสัญญาณขาเข้ามากน้อยเพียงไร การหน่วงรั้งของสัญญาณนี้จะแสดงให้เห็นในเรื่องของการเลื่อนไปของเฟส(phase shift) (สามารถใช้แป้น Ctrl+F8 เพื่อสั่งงานได้)

Show Graph > Group Delay
เป็นคำสั่งเพื่อแสดงผลกราฟของกลุ่มการหน่วงรั้ง เป็นการแสดงให้เห็นถึงความต่างกันระหว่างสัญญาณขาออกของลำโพงกับสัญญาณขาเข้ามากน้อยเพียงไร โดยการหน่วงรั้งนี้จะแสดงให้เห็นเป็นคาบเวลา-มิลลิเซคกั้น (สามารถใช้แป้น Ctrl+F9 เพื่อสั่งงานได้)

Clear All Graph Plots
เป็นคำสั่งเพื่อลบการวาดเส้นกราฟทั้งหมดในกราฟแสดงผล (สามารถใช้แป้น Ctrl+Y เพื่อสั่งงานได้)

Clear All Memories
เป็นคำสั่งเพื่อลบความจำของชุดจดจำรูปคลื่นกราฟทั้งหมด 7 หน่วยความจำ


คำสั่งเกี่ยวกับการทดสอบ


Driver
เป็นคำสั่งเพื่อเริ่มต้นขั้นตอนการทดสอบตัวขับเสียง หรือการหาค่าปัจจัยของลำโพง โดยแต่ละขั้นตอนจะมีภาพจำลองของการต่อชุดวงจร เพื่อแสดงถึงการทดสอบหาค่าพารามิเตอร์ในสัญญาณระดับต่ำ และนำค่าปฏิบัตินั้นมาทำการคำนวณ(โปรแกรมคำนวณให้) ในบางกรณีจำต้องใช้เครื่องมืออื่นๆประกอบตามสมควร(รายการเครื่องมือที่ต้องใช้มีแสดงไว้ในรายการแล้วในขั้นตอนเริ่มต้น)

Passive Radiator
เป็นคำสั่งเพื่อเริ่มต้นขั้นตอนการทดสอบตัวช่วยกระจายเสียง หรือการหาค่าปัจจัยของตัวช่วยกระจายเสียง โดยแต่ละขั้นตอนจะมีภาพจำลองของการต่อชุดวงจร เพื่อแสดงถึงการทดสอบหาค่าพารามิเตอร์ในสัญญาณระดับต่ำ และนำค่าปฏิบัตินั้นมาทำการคำนวณ(โปรแกรมคำนวณให้) ในบางกรณีจำต้องใช้เครื่องมืออื่นๆ ประกอบตามสมควร(รายการเครื่องมือที่ต้องใช้มีแสดงไว้ในรายการแล้วในขั้นตอนเริ่มต้น)




คำสั่งเกี่ยวกับเครื่องมือของโปรแกรม



Design Wizard
เป็นคำสั่งเพื่อเลือกใช้ตัวช่วยงานออกแบบ ตัวช่วยออกแบบในโปรแกรม BassBox Pro จะช่วยในการออกแบบตู้ในลักษณะเป็นขั้นเป็นตอน

Wavelength Calculator
เป็นคำสั่งเพื่อเปิดใช้หน้าต่างการคำนวณความยาวคลื่น ซึ่งสามารถใช้การคำนวณความยาวคลื่นนี้เมื่อต้องการคำนวณหา “คลื่นค้างสะสม” (standing wave) ตามความถี่ของตู้ที่ออกแบบ

Start X-over Pro
เป็นคำสั่งเพื่อเลือกใช้โปรแกรม X-over เมื่อได้ติดตั้งโปรแกรม X-over Pro เข้าไว้ในโปรแกรม BassBox Pro โดยโปรแกรม X-over Pro นั้นเป็นโปรแกรมทำงานเกี่ยวกับการออกแบบพาสซีฟ-ครอสโอเวอร์โดยเฉพาะ


คำสั่งเกี่ยวกับการช่วยเหลือ



On-Screen Manual
เป็นคำสั่งเพื่อเปิดใช้คู่มือบนหน้าต่างโปรแกรม ซึ่งมีการแยกหมวดหมู่เอาไว้อย่างละเอียด (สามารถใช้แป้น F1 ในการสั่งงานได้)

Using Help
เป็นคำสั่งเพื่อเปิดใช้งานความช่วยเหลือในแบบ Microsoft tutorial

About BassBox Pro
เป็นคำสั่งเพื่อเปิดส่วนของข้อมูลโปรแกรม อาทิ หมายเลขซีเรียล, ผู้ใช้ที่ลงทะเบียน และข้อมูลกำหนดสิทธิบัตร

PHOENIX BIOS CODE

|0 ความคิดเห็น
PHOENIX BIOS CODE
■Note - If the BIOS detects error 2C, 2E, or 30 (base 512K RAM error), it displays an additional word-bitmap (xxxx) indicating the address line or bits that failed. For example, '2C 0002' means address line 1 (bit one set) has failed. '2E 1020' means data bits 12 and 5 (bits 12 and 5 set) have failed in the lower 16 bits. Note that error 30 cannot occur on 386SX systems because they have a 16 rather than 32-bit bus. The BIOS also sends the bitmap to the port-80 LED display. It first displays the checkpoint code, followed by a delay, the high-order byte, another delay, and then the low-order byte of the error. It repeats this sequence continuously.
■02 - Verify Real Mode
■03 - Disable Non-Maskable Interrupt (NMI)
■04 - Get CPU type
■06 - Initialize system hardware
■07 - Disable shadow and execute code from the ROM.
■08 - Initialize chipset with initial POST values
■09 - Set IN POST flag
■0A - Initialize CPU registers
■0B - Enable CPU cache
■0C - Initialize caches to initial POST values
■0E - Initialize I/O component
■0F - Initialize the local bus IDE
■10 - Initialize Power Management
■11 - Load alternate registers with initial POST values
■12 - Restore CPU control word during warm boot
■13 - Initialize PCI Bus Mastering devices
■14 - Initialize keyboard controller
■16 - BIOS ROM checksum
■17 - Initialize cache before memory Auto size
■18 - 8254 timer initialization
■1A - 8237 DMA controller initialization
■1C - Reset Programmable Interrupt Controller
■20 - Test DRAM refresh
■22 - Test 8742 Keyboard Controller
■24 - Set ES segment register to 4 GB
■28 - Auto size DRAM
■29 - Initialize POST Memory Manager
■2A - Clear 512 kB base RAM
■2C - RAM failure on address line xxxx*
■2E - RAM failure on data bits xxxx* of low byte of memory bus
■2F - Enable cache before system BIOS shadow
■32 - Test CPU bus-clock frequency
■33 - Initialize Phoenix Dispatch Manager
■36 - Warm start shut down
■38 - Shadow system BIOS ROM
■3A - Auto size cache
■3C - Advanced configuration of chipset registers
■3D - Load alternate registers with CMOS values
■41 - Initialize extended memory for RomPilot
■42 - Initialize interrupt vectors
■45 - POST device initialization
■46 - Check ROM copyright notice
■47 - Initialize I20 support
■48 - Check video configuration against CMOS
■49 - Initialize PCI bus and devices
■4A - Initialize all video adapters in system
■4B - QuietBoot start (optional)
■4C - Shadow video BIOS ROM
■4E - Display BIOS copyright notice
■4F - Initialize MultiBoot
■50 - Display CPU type and speed
■51 - Initialize EISA board
■52 - Test keyboard
■54 - Set key click if enabled
■55 - Enable USB devices
■58 - Test for unexpected interrupts
■59 - Initialize POST display service
■5A - Display prompt 'Press F2 to enter SETUP'
■5B - Disable CPU cache
■5C - Test RAM between 512 and 640 kB
■60 - Test extended memory
■62 - Test extended memory address lines
■64 - Jump to UserPatch1
■66 - Configure advanced cache registers
■67 - Initialize Multi Processor APIC
■68 - Enable external and CPU caches
■69 - Setup System Management Mode (SMM) area
■6A - Display external L2 cache size
■6B - Load custom defaults (optional)
■6C - Display shadow-area message
■6E - Display possible high address for UMB recovery
■70 - Display error messages
■72 - Check for configuration errors
■76 - Check for keyboard errors
■7C - Set up hardware interrupt vectors
■7D - Initialize Intelligent System Monitoring
■7E - Initialize coprocessor if present
■80 - Disable onboard Super I/O ports and IRQs
■81 - Late POST device initialization
■82 - Detect and install external RS232 ports
■83 - Configure non-MCD IDE controllers
■84 - Detect and install external parallel ports
■85 - Initialize PC-compatible PnP ISA devices
■86 - Re-initialize onboard I/O ports.
■87 - Configure Motherboard Configurable Devices (optional)
■88 - Initialize BIOS Data Area
■89 - Enable Non-Maskable Interrupts (NMIs)
■8A - Initialize Extended BIOS Data Area
■8B - Test and initialize PS/2 mouse
■8C - Initialize floppy controller
■8F - Determine number of ATA drives (optional)
■90 - Initialize hard-disk controllers
■91 - Initialize local-bus hard-disk controllers
■92 - Jump to UserPatch2
■93 - Build MPTABLE for multi-processor boards
■95 - Install CD ROM for boot
■96 - Clear huge ES segment register
■97 - Fix up Multi Processor table
■98 - Search for option ROMs. One long, two short beeps on checksum failure
■99 - Check for SMART Drive (optional)
■9A - Shadow option ROMs
■9C - Set up Power Management
■9D - Initialize security engine (optional)
■9E - Enable hardware interrupts
■9F - Determine number of ATA and SCSI drives
■A0 - Set time of day
■A2 - Check key lock
■A4 - Initialize typematic rate
■A8 - Erase F2 prompt
■AA - Scan for F2 key stroke
■AC - Enter SETUP
■AE - Clear Boot flag
■B0 - Check for errors
■B1 - Inform RomPilot about the end of POST.
■B2 - POST done - prepare to boot operating system
■B4 - 1 One short beep before boot
■B5 - Terminate QuietBoot (optional)
■B6 - Check password (optional)
■B7 - Initialize ACPI BIOS
■B9 - Prepare Boot
■BA - Initialize SMBIOS
■BB - Initialize PnP Option ROMs
■BC - Clear parity checkers
■BD - Display MultiBoot menu
■BE - Clear screen (optional)
■BF - Check virus and backup reminders
■C0 - Try to boot with INT 19
■C1 - Initialize POST Error Manager (PEM)
■C2 - Initialize error logging
■C3 - Initialize error display function
■C4 - Initialize system error handler
■C5 - PnPnd dual CMOS (optional)
■C6 - Initialize note dock (optional)
■C7 - Initialize note dock late
■C8 - Force check (optional)
■C9 - Extended checksum (optional)
■CA - Redirect Int 15h to enable remote keyboard
■CB - Redirect Int 13h to Memory Technologies Devices such as ROM, RAM, PCMCIA, and serial disk
■CC - Redirect Int 10h to enable remote serial video
■CD - Re-map I/O and memory for PCMCIA
■CE - Initialize digitizer and display message
■D2 - Unknown interrupt
■E0 - Initialize the chipset
■E1 - Initialize the bridge
■E2 - Initialize the CPU
■E3 - Initialize system timer
■E4 - Initialize system I/O
■E5 - Check force recovery boot
■E6 - Checksum BIOS ROM
■E7 - Go to BIOS
■E8 - Set Huge Segment
■E9 - Initialize Multi Processor
■EA - Initialize OEM special code
■EB - Initialize PIC and DMA
■EC - Initialize Memory type
■ED - Initialize Memory size
■EE - Shadow Boot Block
■EF - System memory test
■F0 - Initialize interrupt vectors
■F1 - Initialize Run Time Clock
■F2 - Initialize video
■F3 - Initialize System Management Manager
■F4 - Output one beep
■F5 - Clear Huge Segment
■F6 - Boot to Mini DOS
■F7 - Boot to Full DOS

AWARD BIOS Code

|0 ความคิดเห็น
AWARD BIOS Code
■01 - Expand the Xgroup codes located in physical memory address 1000:0
■02 - Reserved
■03 - Initial Superio_Early_Init switch
■04 - Reserved
■05 - Blank out screen; Clear CMOS error flag
■06 - Reserved
■07 - Clear 8042 interface; Initialize 8042 self test
■08 - Test special keyboard controller for Winbond 977 series Super I/O chips; Enable keyboard interface
■09 - Reserved
■0A - Disable PS/2 mouse interface (optional); Auto detect ports for keyboard & mouse followed by a port & interface swap (optional); Reset keyboard for Winbond 977 series Super I/O chips
■0B - Reserved
■0C - Reserved
■0D - Reserved
■0E - Test F000h segment shadow to see whether it is read/write capable or not. If test fails, keep beeping the speaker
■0F - Reserved
■10 - Auto detect flash type to load appropriate flash read/write codes into the run time area in F000 for ESCD & DMI support
■11 - Reserved
■12 - Use walking 1's algorithm to check out interface in CMOS circuitry. Also set real time clock power status and then check for overrride
■13 - Reserved
■14 - Program chipset default values into chipset. Chipset default values are MODBINable by OEM customers
■15 - Reserved
■16 - Initial Early_Init_Onboard_Generator switch
■17 - Reserved
■18 - Detect CPU information including brand, SMI type (Cyrix or Intel) and CPU level (586 or 686)
■19 - Reserved
■1A - Reserved
■1B - Initial interrupts vector table. If no special specified, all H/W interrupts are directed to SPURIOUS_INT_HDLR & S/W interrupts to SPURIOUS_soft_HDLR
■1C - Reserved
■1D - Initial EARLY_PM_INIT switch
■1E - Reserved
■1F - Load keyboard matrix (notebook platform)
■20 - Reserved
■21 - HPM initialization (notebook platform)
■22 - Reserved
■23 - Check validity of RTC value; Load CMOS settings into BIOS stack. If CMOS checksum fails, use default value instead; Prepare BIOS resource map for PCI & PnP use. If ESCD is valid, take into consideration of the ESCD's legacy information; Onboard clock generator initialization. Disable respective clock resource to empty PCI & DIMM slots; Early PCI initialization - Enumerate PCI bus number, assign memory & I/O resource, search for a valid VGA device & VGA BIOS, and put it into C000:0
■24 - Reserved
■25 - Reserved
■26 - Reserved
■27 - Initialize INT 09 buffer
■28 - Reserved
■29 - Program CPU internal MTRR (P6 & PII) for 0-640K memory address; Initialize the APIC for Pentium class CPU; Program early chipset according to CMOS setup; Measure CPU speed; Invoke video BIOS
■2A - Reserved
■2B - Reserved
■2C - Reserved
■2D - Initialize multilanguage; Put information on screen display, including Award title, CPU type, CPU speed, etc...
■2E - Reserved
■2F - Reserved
■30 - Reserved
■31 - Reserved
■32 - Reserved
■33 - Reset keyboard except Winbond 977 series Super I/O chips
■34 - Reserved
■35 - Reserved
■36 - Reserved
■37 - Reserved
■38 - Reserved
■39 - Reserved
■3A - Reserved
■3B - Reserved
■3C - Test 8254
■3D - Reserved
■3E - Test 8259 interrupt mask bits for channel 1
■3F - Reserved
■40 - Test 9259 interrupt mask bits for channel 2
■41 - Reserved
■42 - Reserved
■43 - Test 8259 functionality
■44 - Reserved
■45 - Reserved
■46 - Reserved
■47 - Initialize EISA slot
■48 - Reserved
■49 - Calculate total memory by testing the last double last word of each 64K page; Program writes allocation for AMD K5 CPU
■4A - Reserved
■4B - Reserved
■4C - Reserved
■4D - Reserved
■4E - Program MTRR of M1 CPU; initialize L2 cache for P6 class CPU & program cacheable range; Initialize the APIC for P6 class CPU; On MP platform, adjust the cacheable range to smaller one in case the cacheable ranges between each CPU are not identical
■4F - reserved
■50 - Initialize USB
■51 - Reserved
■52 - Test all memory (clear all extended memory to 0)
■53 - Reserved
■54 - Reserved
■55 - Display number of processors (multi-processor platform)
■56 - Reserved
■57 - Display PnP logo; Early ISA PnP initialization and assign CSN to every ISA PnP device
■58 - Reserved
■59 - Initialize the combined Trend Anti-Virus code
■5A - Reserved
■5B - Show message for entering AWDFLASH.EXE from FDD (optional feature)
■5C - Reserved
■5D - Initialize Init_Onboard_Super_IO switch; Initialize Init_Onboard_AUDIO switch
■5E - Reserved
■5F - Reserved
■60 - Okay to enter Setup utility
■61 - Reserved
■62 - Reserved
■63 - Reserved
■64 - Reserved
■65 - Initialize PS/2 mouse
■66 - Reserved
■67 - Prepare memory size information for function call: INT 15h ax=E820h
■68 - Reserved
■69 - Turn on L2 cache
■6A - Reserved
■6B - Program chipset registers according to items described in Setup & Auto-Configuration table
■6C - Reserved
■6D - Assign resources to all ISA PnP devices; Auto assign ports to onboard COM ports if the corresponding item in Setup is set to 'AUTO'
■6E - Reserved
■6F - Initialize floppy controller; Setup floppy related fields in 40:hardware
■70 - Reserved
■71 - Reserved
■72 - Reserved
■73 - Enter AWDFLASH.EXE if: AWDFLASH.EXE is found in floppy dive and ALT+F2 is pressed
■74 - Reserved
■75 - Detect and install all IDE devices: HDD, LS120, ZIP, CDROM...
■76 - Reserved
■77 - Detect serial ports and parallel ports
■78 - Reserved
■79 - Reserved
■7A - Detect and install coprocessor
■7B - Reserved
■7C - Reserved
■7D - Reserved
■7E - Reserved
■7F - Switch back to text mode if full screen logo is supported: if errors occur, report errors & wait for keys, if no errors occur or F1 key is pressed continue - Clear EPA or customization logo
■80 - Reserved
■81 - Reserved
■82 - Call chipset power management hook: Recover the text fond used by EPA logo (not for full screen logo), If password is set, ask for password
■83 - Save all data in stack back to CMOS
■84 - Initialize ISA PnP boot devices
■85 - Final USB initialization; NET PC: Build SYSID structure; Switch screen back to text mode; Set up ACPI table at top of memory; Invoke ISA adapter ROM's; Assign IRQ's to PCI devices; Initialize APM; Clear noise of IRQ's
■86 - Reserved
■87 - Reserved
■88 - Reserved
■89 - Reserved
■90 - Reserved
■91 - Reserved
■92 - Reserved
■93 - Read HDD boot sector information for Trend Anti-Virus code
■94 - Enable L2 cache; Program boot up speed; Chipset final initialization; Power management final initialization; Clear screen and display summary table; Program K^ write allocation; Program P6 class write combining
■95 - Program daylight saving; Update keyboard LED and typematic rate
■96 - Build MP table; Build and update ESCD; Set CMOS century to 20h or 19h; Load CMOS time into DOS timer tick; Build MSIRQ routing table
■C0 - Early chipset initialization: Disable shadow RAM, L2 cache (socket 7 and below), program basic chipset registers
■C1 - Detect memory: Auto detection of DRAM size, type and ECC, auto detection of L2 cache (socket 7 and below)
■C3 - Expand compressed BIOS code to DRAM
■C5 - Call chipset hook to copy BIOS back to E000 & F000 shadow RAM
■CF - Test CMOS read/write functionality
■FF - Boot attempt (INT 19h)

AMI BIOS Code

|0 ความคิดเห็น
AMI BIOS Code

01 NMI is disabled and the i286 register test is about to start
02 i286 register test has passed
03 ROM BIOS checksum test (32KB from E8000h) passed OK
04 Passed keyboard controller test with and without mouse
05 Chipset initialized...DMA and interrupt controller disabled
06 Video system disabled and the system timer checks OK
07 8254 programmable interval timer initialized
08 Delta counter channel 2 initialization complete
09 Delta counter channel 1 initialization complete
0A Delta counter channel 0 initialization complete
0B Refresh started
0C System timer started
0D Refresh check OK
10 Ready to start 64KB base memory test
11 Address line test OK
12 64KB base memory test OK
15 ISA BIOS interrupt vectors initialized
17 Monochrome video mode OK
18 CGA color mode set OK
19 Attempting to pass control to video ROM at C0000h
1A Returned from video ROM
1B Shadow RAM enabled
1C Display memory read/write test OK
1D Alternate display memory read/write test OK
1E Global equipment byte set for proper
1F Ready to initialize video system
20 Finished setting video mode
21 ROM type 27256 verified
22 The power-on message is displayed
30 Ready to start the virtual mode memory test
31 Virtual memory mode test started
32 CPU has switched to virtual mode
33 Testing the memory address lines
34 Testing the memory address lines
35 Lower 1MB of RAM found
36 Memory size computation checks OK
37 Memory test in progress
38 Memory below 1MB is initialized
39 Memory above 1MB is initialized
3A Memory size is displayed
3B Ready to test the lower 1MB of RAM
3C Memory test of lower 1MB OK
3D Memory test above 1MB OK
3E Ready to shutdown for real-mode testing
3F Shutdown Ok - now in real mode
40 Cache memory now on...Ready to disable gate A 20
41 A20 line disabled successfully
42 i486 internal cache turned on
43 Ready to start DMA controller test
50 DMA page register test OK
51 Starting DMA controller 1 register test
52 DMA controller 1 test passed, starting DMA controller 2 register test
53 DMA controller 2 test passed
54 Ready to test latch on DMA controller 1 and 2
55 DMA controller 1 and 2 latch test OK
56 DMA controller 1 and 2 configured OK
57 8259 programmable interrupt controller initialized Ok
70 Start of keyboard test
71 Keyboard controller OK
72 Keyboard test OK...Starting mouse interface test
73 Keyboard and mouse global initialization OK
74 Display setup prompt.. Floppy setup ready to start
75 Floppy controller setup OK
76 hard disk setup ready to start
77 Hard disk controller setup OK
79 Ready to initialize timer data
7A Timer data area initialized
7B CMOS battery verified OK
7E CMOS memory size updated
7F Enable setup routine if <Delete> is pressed
80 Send control to adapter ROM at C800h to DE00h
81 Return from adapter ROM
82 Printer data initialization is OK
83 RS-232 data initialization is OK
84 80x87 check and test OK
85 Display any soft error message
86 Give control to ROM at E0000h
A0 Program the cache SRAM
A1 Check for external cache
A2 initialize EISA adapter card slots
A3 Test extended NMI in EISA system
00 Call the INT19 boot loader

BIOS Beep Codes

|0 ความคิดเห็น