เปรียบเทียบอัตราการสึกของอีเลคโทรด EDM
มีการศึกษาหนึ่งในต่างประเทศเป็นการเปรียบเทียบ อัตราการสึกของมุมขอบของอิเลคโทรด(Corner Wear) ที่ใช้สปาร์คกับชิ้นงานต่างชนิด “รจนา” เห็นว่าน่าสนใจ เพราะสามารถนำมาเป็นแนวทางสำหรับช่าง EDM ได้ (แต่ไม่ใช่ข้อสรุป) จึงอยากจะแนะนำให้ทราบดังนี้
อิเลคโทรด ทำเป็นรูปสี่เหลียมจัตุรัสขนาดเท่ากันโดยใช้วัสดุต่างชนิดกัน
ชิ้นงาน ทำจากวัสดุต่างชนิดแต่มีความหนา 1 นิ้ว(25.4 มม.) เท่ากันหมด
การทดสอบ ใช้อิเลคโทรดสปาร์คจนทะลุอย่างสมบูรณ์เพื่อหาค่าการสึก
ที่มุมขอบ (Corner Wear) ของอิเลคโทรด (ดูรูปประกอบ)
ผลการทดสอบเปรียบเทียบปรากฏตามตาราง เราสามารถใช้ผลการ
ทดสอบนี้มาใช้เพื่อเลือกว่าควรใช้วัสดุใดมาทำอิเลคโทรดให้เหมาะสมกับ
ชิ้นงาน แต่อย่าลืมพิจารณาเรื่องราคาและความยาก-ง่าย ในการขึ้นรูป
อิเลคโทรดด้วย และยังมีปัจจัยอื่นๆ ซึ่งเกี่ยวข้องอาจต้องนำมาพิจารณา
ประกอบ เพราะนี่เป็นการศึกษาเฉพาะการสึกที่มุมขอบเท่านั้น
อัตราการสึกที่มุมขอบ 90 ๐ ของอิเลคโทรด
0 ความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น