แต่ละปีมีผู้เสียชีวิตอันเนื่องจากการ ติดเชื้อไวรัสตับอักเสบซีมากกว่า 350,000 คน ซึ่งประมาณ 4 ล้านคนของผู้ติดเชื้อ HCV อยู่ในทวีปยุโรป และอีก 4 ล้านคนอยู่ในประเทศสหรัฐอเมริกา นอกจากนี้ ประชากรจำนวน 1 ใน 12 คนทั่วโลกติดเชื้อไวรัสตับอักเสบบี หรือซี แบบเรื้อรัง ใน ประเทศไทยพบประมาณร้อยละ 1-5 โดยประมาณร้อยละ 5-9 ของผู้ติดเชื้อ HCV อยู่ในภาคเหนือและตะวันออกเฉียงเหนือ การตรวจพบผู้ป่วยที่ติดเชื้อไวรัสตับอักเสบซีในประเท ศไทยมีแนวโน้มเพิ่มสูง ขึ้นอย่างต่อเนื่อง
รศ.นพ.ธีระ พิรัชวิสุทธิ์ รศ.ประจำคณะแพทยศาสตร์ และรองคณบดี ม.สงขลานครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่ และ. ผอ.สถาบันโรคทางเดินอาหารและตับ เผย ว่า ประเทศไทยมีผู้ติดเชื้อไวรัสตับอักเสบซีเป็นสายพันธุ ์ 3 ประมาณร้อยละ 50-60 การรักษาทางการแพทย์นั้น จำเป็นต้องระบุสายพันธุ์ไวรัสไวรัสตับอักเสบซีที่ผู้ ป่วยติดเชื้อให้ได้ เนื่องจากมีผลต่อการตัดสินใจในการเลือกวิธีการรักษาแ ละระยะเวลา
ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญต่อการติด เชื้อไวรัสตับอักเสบซี คือ การใช้เข็มฉีดยาร่วมกัน โดยเฉพาะในกลุ่มผู้ที่ติดยาเสพติด สาเหตุอื่นๆ ที่เสี่ยงต่อการติดเชื้อ HCV ได้แก่ การรับโลหิตที่บริจาคหรือผลิตภัณฑ์เลือดที่ไม่ได้รับ การตรวจคัดกรองก่อน, การเจาะหรือการสัก, การติดเชื้อจากมารดาพบได้น้อย หรือเจ้าหน้าที่ทางการแพทย์ที่ได้รับอุบัติเหตุถูกเข ็มแทงการตรวจคัดกรอง ไวรัสตับอักเสบซีในผู้บริจาคโลหิตช่วยลดความเสี่ยงขอ งการติดเชื้อ HCV จากผลิตภัณฑ์เลือดถึงครึ่งหนึ่ง หรือ 2 ใน 3
ถึง แม้ว่าไวรัสตับอักเสบไม่ได้ติดต่อกันอย่างง่ายดายผ่า นการมีเพศสัมพันธ์ แต่พฤติกรรมทางเพศบางอย่าง อาทิ การมีเพศสัมพันธ์กับคู่นอนหลายคนหรือการมีเพศสัมพันธ ์ทางทวารหนัก ตะเพิ่มความเสี่ยงต่อการติดเชื้อไวรัสตับอักเสบซีมาก ขึ้น
สำหรับ ผู้ที่ติดเชื้อไวรัสตับอักเสบซีส่วนมากมักไม่ได้มีอา การใดๆ แต่ในบางคน หลังจากติดเชื้อจะแสดงอาการเล็กน้อยไปจนถึงรุนแรงให้ เห็นอย่างรวดเร็ว ได้แก่-มีไข้ (มักเป็นเพียงไข้ต่ำๆ) เมื่อยล้า อ่อนเพลีย, เบื่ออาหาร ปวดท้อง, ปัสสาวะมีสีเข้ม, ในบางกรณี อาจมีอาการตัวเหลือง ตาเหลือง, คลื่นไส้อาเจียน, ปวดตามกล้ามเนื้อและข้อต่อ, สมาธิสั้น, วิตกกังวลและภาวะซึมเศร้า, อาการปวดข้อ
ในผู้ป่วยประมาณร้อยละ 80 เชื้อไวรัสตับอักเสบซีได้พัฒนากลายเป็นแบบเรื้อรัง การติดเชื้อแบบเรื้อรังโดยปรกติไม่ค่อยแสดงอาการ อย่างไรก็ตาม ประมาณร้อยละ 20-30 ของผู้ที่ติดเชื้อ HCV จะพัฒนาไปสู่ตับแข็ง และกลายเป็นมะเร็งตับหลังจากมีอาการตับแข็ง
การตรวจหาและวินิจฉัยเชื้อไวรัสตับอักเสบซีมีหลายวิธ ี อย่างไรก็ตาม การตรวจเลือดตามปรกติมักไม่มีการทดสอบเพื่อหาเชื้อไว รัสตับอักเสบซี ปัจจุบันยังไม่มีวัคซีนสำหรับป้องกันไวรัสตับอักเสบซ ี มีเพียงวัคซีนป้องกันไวรัสตับอักเสบเอและบี แต่อย่างไรก็ตามการดูแลปฏิบัติตนอย่างถูกต้องก็สามาร ถที่จะลดความเสี่ยงต่อ การติดเชื้อไวรัสตับอักเสบซีได้
ในกรณีที่มีอาการติดเช ื้อไวรัสตับอักเสบแบบเฉียบพลันอย่างรุนแรง อาจต้องเข้ารักษาตัวในโรงพยาบาล แต่ในเบื้องต้นคนส่วนใหญ่มักไม่จำเป็นต้องได้รับการร ักษาหรือควบคุมอาหาร เป็นพิเศษ เพียงแต่ควรหลีกเลี่ยงเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์ เพราะแอลกอฮอล์ส่งผลต่อการพัฒนาของโรคและทำให้เกิดภา วะแทรกซ้อนรุนแรงได้
ปัจจุบัน ยาที่ให้ผลการรักษาได้ดี โดยที่สามารถกำจัดไวรัสให้หมดไปและไม่กลับเป็นซ้ำอีก หลังหยุดยา คือ การให้ยา 2 ตัวร่วมกัน ประกอบด้วยยาฉีด Pegylated Interferon โดยฉีดสัปดาห์ละครั้ง และยารับประทาน โดยการให้การรักษาเป็นระยะเวลา 24 สัปดาห์ สำหรับไวรัสตับอักเสบซีสายพันธุ์ที่ 2 และ 3 มีโอกาสหายขาดสูงถึงกว่าร้อยละ 80 ในขณะที่สายพันธุ์ที่ 1 และอื่นๆ อาจใช้เวลาประมาณ 48 สัปดาห์
รศ.นพ.ธีระ พิรัชวิสุทธิ์ รศ.ประจำคณะแพทยศาสตร์ และรองคณบดี ม.สงขลานครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่ และ. ผอ.สถาบันโรคทางเดินอาหารและตับ เผย ว่า ประเทศไทยมีผู้ติดเชื้อไวรัสตับอักเสบซีเป็นสายพันธุ ์ 3 ประมาณร้อยละ 50-60 การรักษาทางการแพทย์นั้น จำเป็นต้องระบุสายพันธุ์ไวรัสไวรัสตับอักเสบซีที่ผู้ ป่วยติดเชื้อให้ได้ เนื่องจากมีผลต่อการตัดสินใจในการเลือกวิธีการรักษาแ ละระยะเวลา
ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญต่อการติด เชื้อไวรัสตับอักเสบซี คือ การใช้เข็มฉีดยาร่วมกัน โดยเฉพาะในกลุ่มผู้ที่ติดยาเสพติด สาเหตุอื่นๆ ที่เสี่ยงต่อการติดเชื้อ HCV ได้แก่ การรับโลหิตที่บริจาคหรือผลิตภัณฑ์เลือดที่ไม่ได้รับ การตรวจคัดกรองก่อน, การเจาะหรือการสัก, การติดเชื้อจากมารดาพบได้น้อย หรือเจ้าหน้าที่ทางการแพทย์ที่ได้รับอุบัติเหตุถูกเข ็มแทงการตรวจคัดกรอง ไวรัสตับอักเสบซีในผู้บริจาคโลหิตช่วยลดความเสี่ยงขอ งการติดเชื้อ HCV จากผลิตภัณฑ์เลือดถึงครึ่งหนึ่ง หรือ 2 ใน 3
ถึง แม้ว่าไวรัสตับอักเสบไม่ได้ติดต่อกันอย่างง่ายดายผ่า นการมีเพศสัมพันธ์ แต่พฤติกรรมทางเพศบางอย่าง อาทิ การมีเพศสัมพันธ์กับคู่นอนหลายคนหรือการมีเพศสัมพันธ ์ทางทวารหนัก ตะเพิ่มความเสี่ยงต่อการติดเชื้อไวรัสตับอักเสบซีมาก ขึ้น
สำหรับ ผู้ที่ติดเชื้อไวรัสตับอักเสบซีส่วนมากมักไม่ได้มีอา การใดๆ แต่ในบางคน หลังจากติดเชื้อจะแสดงอาการเล็กน้อยไปจนถึงรุนแรงให้ เห็นอย่างรวดเร็ว ได้แก่-มีไข้ (มักเป็นเพียงไข้ต่ำๆ) เมื่อยล้า อ่อนเพลีย, เบื่ออาหาร ปวดท้อง, ปัสสาวะมีสีเข้ม, ในบางกรณี อาจมีอาการตัวเหลือง ตาเหลือง, คลื่นไส้อาเจียน, ปวดตามกล้ามเนื้อและข้อต่อ, สมาธิสั้น, วิตกกังวลและภาวะซึมเศร้า, อาการปวดข้อ
ในผู้ป่วยประมาณร้อยละ 80 เชื้อไวรัสตับอักเสบซีได้พัฒนากลายเป็นแบบเรื้อรัง การติดเชื้อแบบเรื้อรังโดยปรกติไม่ค่อยแสดงอาการ อย่างไรก็ตาม ประมาณร้อยละ 20-30 ของผู้ที่ติดเชื้อ HCV จะพัฒนาไปสู่ตับแข็ง และกลายเป็นมะเร็งตับหลังจากมีอาการตับแข็ง
การตรวจหาและวินิจฉัยเชื้อไวรัสตับอักเสบซีมีหลายวิธ ี อย่างไรก็ตาม การตรวจเลือดตามปรกติมักไม่มีการทดสอบเพื่อหาเชื้อไว รัสตับอักเสบซี ปัจจุบันยังไม่มีวัคซีนสำหรับป้องกันไวรัสตับอักเสบซ ี มีเพียงวัคซีนป้องกันไวรัสตับอักเสบเอและบี แต่อย่างไรก็ตามการดูแลปฏิบัติตนอย่างถูกต้องก็สามาร ถที่จะลดความเสี่ยงต่อ การติดเชื้อไวรัสตับอักเสบซีได้
ในกรณีที่มีอาการติดเช ื้อไวรัสตับอักเสบแบบเฉียบพลันอย่างรุนแรง อาจต้องเข้ารักษาตัวในโรงพยาบาล แต่ในเบื้องต้นคนส่วนใหญ่มักไม่จำเป็นต้องได้รับการร ักษาหรือควบคุมอาหาร เป็นพิเศษ เพียงแต่ควรหลีกเลี่ยงเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์ เพราะแอลกอฮอล์ส่งผลต่อการพัฒนาของโรคและทำให้เกิดภา วะแทรกซ้อนรุนแรงได้
ปัจจุบัน ยาที่ให้ผลการรักษาได้ดี โดยที่สามารถกำจัดไวรัสให้หมดไปและไม่กลับเป็นซ้ำอีก หลังหยุดยา คือ การให้ยา 2 ตัวร่วมกัน ประกอบด้วยยาฉีด Pegylated Interferon โดยฉีดสัปดาห์ละครั้ง และยารับประทาน โดยการให้การรักษาเป็นระยะเวลา 24 สัปดาห์ สำหรับไวรัสตับอักเสบซีสายพันธุ์ที่ 2 และ 3 มีโอกาสหายขาดสูงถึงกว่าร้อยละ 80 ในขณะที่สายพันธุ์ที่ 1 และอื่นๆ อาจใช้เวลาประมาณ 48 สัปดาห์
0 ความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น